เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   19   มีนาคม   พ.ศ. 2567

แนะนำหลักสูตรบัณฑิตศึกษา


หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย ดร.มยุรี ถาวรพัฒน์
ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ(ภาคปกติและภาคพิเศษ) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย อาจารย์ ดร.เกียรติศักดิ์ ศรีตระกูลชัย
ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

โดย รองศาสตราจารย์ ดร. สิงหนาท น้อมเนียน
ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

Master of Human Rights and Democratisation

Dr. Michael George Hayes
Master of Human Rights and Democratisation , Institute of Human Rights and Peace Studies, Mahidol University.

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาพิษวิทยาและโภชนาการเพื่ออาหารปลอดภัย

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ชนิพรรณ บุตรยี่
ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาพิษวิทยาและโภชนาการเพื่ออาหารปลอดภัย
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน (หลักสูตรภาคปกติและภาคพิเศษ)

โดย อาจารย์ ดร. มณฑิรา ยุติธรรม
ประธานหลักสูตรหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเมืองน่าอยู่และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน (หลักสูตรภาคปกติและภาคพิเศษ)
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา

โดย ดร.สุภาสเมต ยุนยะสิทธิ์
ประธานหลักสูตรหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา
สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (หลักสูตรภาคพิเศษ)

โดย อาจารย์ ดร. เดชรัตน์ สัมฤทธิ์
อาจารย์ประจำหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (หลักสูตรภาคพิเศษ)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ (หลักสูตรนานาชาติ) สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล

โดย รศ. ดร.สุรพล พิบูลโภคานันท์
ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ (หลักสูตรนานาชาติ)
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบำบัดคลินิก

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คีรินท์ เมฆโหรา
รองประธานหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต
สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี(หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย รองศาสตราจารย์ ดร. กิตติศักดิ์ หยกทองวัฒนา
ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี (หลักสูตรนานาชาติ)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี (หลักสูตรนานาชาติ) คณะวิทยาศาสตร์

หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา(หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อมรพันธ์ อัจจิมาพร
ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา(หลักสูตรนานาชาติ) วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วารี วิดจายา
ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย อาจารย์ ดร. อจิรภาส์ พันธัย
ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ปริวรรต หลักสูตรนานาชาติ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย อาจารย์ ดร. พญ. ณฐินี จินาวัฒน์
อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ปริวรรต หลักสูตรนานาชาติ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย อาจารย์ ดร.นายสัตวแพทย์ กฤษฎา ใจชื้น
ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย อาจารย์ ดร. นพนันท์ นานคงแนบ
ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) สถาบันนวัตกรรมและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย อาจารย์ ดร. ปรเมศวร์ เหล่าสินชัย
ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา(หลักสูตรนานาชาติ) สถาบันนวัตกรรมและการเรียนรู้

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทศโนโลยีสารสนเทศ (ภาคพิเศษ) คณะวิศวกรรมศาสตร์

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุภาภรณ์ เกียรติสิน
ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทศโนโลยีสารสนเทศ (ภาคพิเศษ) คณะวิศวกรรมศาสตร์

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพหุวัฒนธรรมศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) ปร.ด. (พหุวัฒนธรรมศึกษา) สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิริจิต สุนันต๊ะ
ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพหุวัฒนธรรมศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเสพติด ศศ.ม.(วิทยาการเสพติด) สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย อาจารย์ ดร. ประภาพรรณ จูเจริญ
ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรศิลปศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเสพติด สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย อาจารย์ ดร. ศุทธิดา ชวนวัน
อาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม

ผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ ลุ่มลึก รอบด้าน สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในการทำงานด้านสุขภาพอย่างบูรณาการ มีส่วนร่วมในการแก้ไขสถานการณ์สุขภาพที่สลับซับซ้อน ได้อย่างสร้างสรรค์

โดย ศาสตราจารย์ ดร. พิมพวัลย์ บุญมงคล
ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์และสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาเด็ก วัยรุ่น และครอบครัว มุ่งผลิตบุคลากรด้านจิตวิทยาตอบโจทย์แก้ปัญหาสังคมอย่างแท้จริง !!!

โดย รองศาสตราจารย์ นพ. ศิริไชย หงษ์สงวนศรี
ประธานหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาเด็ก วัยรุ่น และครอบครัว โครงการร่วมคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ภาคพิเศษ) วิทยาลัยราชสุดา

โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ทวี เชื้อสุวรรณทวี
ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ภาคพิเศษ) วิทยาลัยราชสุดา

หลักสูตรโภชนาการและการกำหนดอาหาร (นานาชาติ) หลักสูตรแรกในไทย มุ่งผลิตบัณฑิตเพื่อแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพและโภชนาการอย่างยั่งยืน

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันทนีย์ เกรียงสินยศ
ประธานหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการและการกำหนดอาหาร (หลักสูตรนานาชาติ) สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์แนวใหม่ สร้าง Product Specialist Biomedical Engineering สู่ตลาดอาเซียน

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์
ประธานหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล