เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   25   เมษายน   พ.ศ. 2567

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

โดย อาจารย์ ดร.เกียรติศักดิ์ ศรีตระกูลชัย
ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
MASTER OF ENGINEERING PROGRAM IN INDUSTRIAL ENGINEERING
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

"พัฒนามหาบัณฑิตของหลักสูตร ซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรู้และความชำนาญในเชิงปฏิบัติ สามารถวิเคราะห์ ประยุกต์ และผสมผสานวิทยาการ และเทคโนโลยีที่หลากหลายของวิศวกรรมอุตสาหการทั้งในแบบดั้งเดิมและแบบสมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการวิจัย พัฒนา ประยุกต์ และแก้ปัญหาทางธุรกิจและอุตสาหกรรมได้อย่างแท้จริง"

จุดเด่นของหลักสูตร

  • ผลิตมหาบัณฑิตเพื่อตอบสนองอุตสาหกรรมและวิชาการ
  • บูรณาการศาสตร์ทางวิศวกรรมอุตสาหการในการจัดการผลิตและอุตสาหกรรม
  • จัดการเรียนการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้
  • มีความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาไปต่างประเทศ
  • มีทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับนักศึกษา
  • มีการยกระดับทักษะด้านภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา
  • มีศูนย์บริการอุตสาหกรรม และโครงการเครือข่ายนักวิจัยไทย ด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานภายใต้สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

โครงสร้างหลักสูตร (จำนวนหน่วยกิต)

  • ภาคปกติ : จัดการเรียนการสอนในวัน – เวลาราชการ
  • ภาคพิเศษ : จัดการเรียนการสอน นอกเวลาราชการ
รายการ แผน ก แบบ ก 2 แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 15 15
หมวดวิชาเลือก 9 15
วิทยานิพนธ์ 12 -
สารนิพนธ์ - 6
รวม 36 36

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  • สำเร็จการศึกษาปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต, วิทยาศาสตรบัณฑิต จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรองโดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือ
  • สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่น จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาอุดมศึกษาให้การรับรอง โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 และมีประสบการณ์ในสายวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมอุตสาหการไม่ต่ำกว่า 3 ปี
  • มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (ผลสอบต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันที่สมัคร)
    IELTS ที่ระดับ 3 คะแนนขึ้นไป หรือ
    TOEFL-iBT ที่ระดับ 32 คะแนนขึ้นไป หรือ
    TOEFL-LTP (เฉพาะที่จัดสอบโดยบัณฑิตวิทยาลัย) ที่คะแนนระดับ 400 ขึ้นไป หรือ
    MU GRAD TEST (Computer-Based) ที่ระดับคะแนน 36 ขึ้นไป
  • ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
ไพรัตน์ เจียมเรืองจรัส นักศึกษาแลกเปลี่ยน ปีการศึกษา 2555 Hamburg University of Technology (TUHH)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
ธัชนันท์ สังวาลย์ นักศึกษาแลกเปลี่ยน ปีการศึกษา 2556 Hamburg University of Technology (TUHH)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
พีรวัส ดังธนกุล นักศึกษาแลกเปลี่ยน ปีการศึกษา 2558 Technische Universität Darmstadt

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
อารยชน ดุสรักษ์ นักศึกษาแลกเปลี่ยน ปีการศึกษา 2559 Technische Universität Darmstadt

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
ปุณยวัฒน์ กุศลวัฒนะ นักศึกษาแลกเปลี่ยน ปีการศึกษา 2559 Technische Universität Darmstadt

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
ณัฐกิตต์ อยู่ด้วง นักศึกษาแลกเปลี่ยน ปีการศึกษา 2559 Technische Universität Darmstadt

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
ชมพูนุช พ่วงทรัพย์สิน นักศึกษาแลกเปลี่ยน ปีการศึกษา 2559 Technische Universität Darmstadt

 

โครงการสัมนา โครงการฝึกอบรม อาทิ

  • Lean Manufacturing
  • Six sigma
  • Research methodology
  • Publication the research paper
  • Research Ethics
  • Transportation (Railways, Airways)

โครงการศึกษาดูงาน อาทิ

  • บริษัท โอทีซี ไดเฮ็น เอเซีย จำกัด
  • บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จำกัด
  • บริษัท ไทยเมทัลโปรดักส์อินดัสตรีย์ จำกัด
  • บริษัท สยามคิโต้ จำกัด
  • บริษัท ไทรอัมพ์ เอวิเอชั่น เซอร์วิสเซส เอเชีย จำกัด
  • บริษัท เอเชียน มารีน เซอร์วิสส์ จำกัด (มหาชน)
  • บริษัท เอพีแอล โลจิสติคส์ เอสวีซีเอส (ประเทศไทย) จำกัด
  • ศูนย์กระจายสินค้า บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน)
  • โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน
  • บริษัท เอ็ม-เวิลด์ โลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด
  • บริษัท เนชั่นแนล เฮลท์แคร์ ซิสเท็มส์ จำกัด
  • The United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (ESCAP) กรุงเทพฯ
  • การรถไฟแห่งประเทศไทย (ส่วนโรงงานมักกะสัน)
  • บริษัทโชคนำชัย ออโต้เพรสซิ่ง จำกัด
  • บริษัท ซิลลิคฟาร์มา จำกัด
  • สำนักงานสวนจิตรลดา โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
  • บริษัท ฮัทชิสัน พอร์ท (ประเทศไทย) จำกัด
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
  • ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)
  • โครงการ Magnolias Ratchadamri Boulevard
  • ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
  • IKEA ประเทศไทย
  • ศูนย์อุตสาหกรรมอิตาเลียนไทย
  • ศูนย์การเรียนรู้ตันแลนด์ ดินแดนแห่งความสมดุล

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

ตัวอย่างหัวข้อวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา

  • DESIGN AND IMPLEMENTATION OF AUTOMATION FOR PLANT UNRSERY PROCESS TIME REDUCTION
  • LEAN APPLICATION IN A JOB SHOP : A CASE STUDY OF TYRE MOLD PLANT
  • PERFORMANCE MEASUREMENT OF MEDICAL WAREHOUSE DEPARTMENT BY FUZZY ANALYTICAL HIERARCHY PROCESS (FAHP)
  • A STUDY OF THE HYBRID MODEL PERFORMANCE FOR TIME SERIES FORECASTING
  • MASS TRANSIT TIMETABLE MODELING AND EVALUATION
  • THE IMPACT OF THE BUFFER SIZE CAPACITY AND DISPATCHING RULES IN A STOCHASTIC DYNAMIC JOB SHOP
  • COST REDUCTION GUIDELING FOR MEDICAL EQUIPMENT CALIBRATION SERVICES
  • AIRPORT EFFICIENCY MODEL USING DATA ENVELOPMENT ANALYSIS (DEA)
  • THE DEVELOPMENT OF AN APPROPRIATE QUALITY ASSURANCE SYSTEM FOR THE U-SHAPED PLASTIC BAG PROCESS
  • THE APPLICATION OF SIX SIGMA IN QUALITY MANGEMENT TO IMPROVE PLASTIC BAG PRODUCTION
  • SEMI-SKILLED WORKER SELECTION IN LABOR-INTENSIVE INDUSTRY
  • SINGLE WORKER SCHEDULING FOR MULTI-ASSEMBLY JOBS WITH PREEMPTION: A CASE STUDY OF A GARMENT SAMPLEROOM
  • A COMPARISON OF PROCESS-BASED AND OBJECT-BASED SIMULATION : A CASE STUDY OF HOSPITAL SERCICE
  • DEMAND FORECASTING FOR EXPORT AND IMPORT WAREHOUSE BY USING ARTIFICIAL NEURAL NETWORK: A CASE STUDY OF PHAMARCEUTICAL WAREHOUSE
  • HOSPITAL WAREHOUSE AND INVENTORY MANAGEMENT: A CASE STUDY OF VMI IMPLEMENTATION
  • PERFORMANCE MEASUREMENT IN THE HEALTHCARE SUPPLY CHAIN
  • DEVELOPING INVENTORY MANAGEMENT IN HOSPITAL
  • A TWO-STAGE VALUE CHAIN DEA APPLICATION TO ASSESS PERFORMANCE MEASUREMENT OF COMMERCIAL BANK IN CAMBODIA
  • STUDY ON APPLICATION OF MICROSOFT EXCEL SOLVER STANDARD EDITION FOR LEAST COST PIG FEED FORMULATION
  • FUZZY FMEA APPLICATION TO IMPROVE DECISION MAKING PROCESS IN AN EMERGENCY DEPARTMENT: A CASE STUDY OF RAJBURI HOSPITAL
  • TASK AND WORKER ASSIGNMENT IN THE SHARED-MACHINE U-SHAPED ASSEMBLY LINE
  • APPLICATION OF MULTI-CRITERIA DECISION MAKING USING FUZZY-TOPSIS IN DRUG DISTRIBUTION CENTER LOCATION SELECTION
  • 3D RECONSTRUCTION METHODLOGY FOR INDUSTRIAL APPLICATIONS USING KINECT
  • THE APPLICATION OF LEAN AND SIX SIGMA IN HOSPITAL PHARACY DEPARTMENT : A CASE STUDY IN THAILAND
  • E-READINESS ASSESSMENT FOR BARCODE TECHNOLOGY IMPLEMENTATION IN PHARMACEUTICAL DEPARTMENT IN THAI HOSPITALS
  • SUPLIER SELECTION IN TEXTILE INDUSTRY USING FUZZY ANALYTIC NETWORK PROCESS

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • วิศวกรอุตสาหการ
  • นักวิจัยด้านวิศวกรรมอุตสาหการ
  • ผู้ให้คำปรึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์และบริหารจัดการ
  • ผู้ปฎิบัติงานในองค์กร ภาครัฐ และภาคเอกชน
  • ผู้ประกอบอาชีพตามสถานประกอบการด้านกลยุทธ์โลจิสติกส์ รวมถึงการจัดการคลังสินค้า การขนส่ง การกระจายสินค้า การวางแผนการผลิต การจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

 โทรศัพท์ 02-889-2138 ต่อ 6203

 nukanda.wor@mahidol.ac.th

 http://www.grad.mahidol.ac.th/th/prospective-students/view.php?id=3804M01G

ผู้สนใจเข้าศึกษา สามารถดูรายละเอียดหลักสูตรได้ที่

http://www.grad.mahidol.ac.th/th/prospective-students/view.php?id=3804M02G
http://www.grad.mahidol.ac.th/th/prospective-students/view.php?id=3804M01S
https://www.eg.mahidol.ac.th/ ช่วงเวลาเปิดรับสมัคร : ตุลาคม – กุมภาพันธ์ ของทุกปี

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
งานวิเทศสัมพันธ์และสื่อสารองค์การ , งานรับนักศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
โทร. 0-2441-9129 ,0-2441-4125 ต่อ 208-210, 112-113