เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพุธที่   17   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) (ภาคพิเศษ)

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เว็บไซต์ http://www.ict.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาการคอมพิวเตอร์)

จุดเด่นของหลักสูตร

มีการปรับปรุงให้เกิดความสอดคล้องกับพันธกิจของคณะและมหาวิทยาลัยมหิดล ที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ ในการเรียนการสอนและการวิจัย โดยมีปณิธานในการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถและเชี่ยวชาญ ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในระดับที่ดี มีวินัยและเป็นคนดี ของสังคม โดยเน้นและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ ที่คำนึงถึงคุณธรรมและจริยธรรมทาง วิชาชีพให้มาก และใส่ใจถึงผลกระทบต่อผู้รับข้อมูลข่าวสารและสังคมภายใต้วัฒนธรรมไทย เนื่องจาก ข้อมูลข่าวสารมีหลายรูปแบบและมีการถ่ายทอดต่อกันอย่างรวดเร็วผ่านระบบเครือข่ายสื่อสารที่แพร่หลาย ทำให้การรับวัฒนธรรมจากต่างประเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีผลให้พฤติกรรม ทัศนคติและค่านิยมของ บุคคลในสังคมเปลี่ยนไป การปรับปรุงหลักสูตร จึงเน้นเรื่องของการทำวิจัยทั้ง (๑) การสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ (๒) การประยุกต์องค์ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์กับศาสตร์อื่นๆ (๓) การนำองค์ความรู้มาถ่ายทอด และปฏิบัติจริงในการทำงาน และ (๔) การนำองค์ความรู้มาใช้ในการทำวิจัยเชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาเป็น องค์ความรู้ต่อไปได้อีก

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan A (A.2)
1. Applicants should hold a Bachelor's degree from an institute accredited by the Office of 
    Higher Education Commission, in either one of the following categories:
          1.1 A degree in computer science, computer engineering, information technology, 
                 information and communication technology, electrical engineering, mathematics, or physics.
          1.2 A degree in another related field with at least 12 credits of computer related courses, 
                 and having at least 1 year of work experience in computing or IT development. 
2. Applicants should have a cumulative GPA of not less than 2.5
3. Applicants should have an English Proficiency Examination score as required by 
    the Faculty of Graduate Studies.
4. Applicants with qualifications other than 2.2.1-2.2.3 may be considered by the Program Director, 
    and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

Plan B
1. Applicants should hold a Bachelor's degree with at least 6 credits of computer related courses 
    from an institute accredited by the Office of Higher Education Commission and have at least 2 years 
    of work experience in computing or IT development.
2. Applicants should have a cumulative GPA of not less than 2.5
3. Applicants should have an English Proficiency Examination score as required by 
    the Faculty of Graduate Studies.
4. Applicants with qualifications other than 2.2.1-2.2.3 may be considered by the Program Director, 
    and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Computer and Information Technology Technical Officer
2. Software and System Developer
3. Information Technology Manager
4. Data Analyst and Data Scientist
5. Multimedia Developer

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
ทสคพ๕๐๙ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2
ทสคพ๕๒๑ : การจัดการผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์แบบอไจล์ 3
ทสคพ๕๒๒ : การประมวลผลใกล้แหล่งข้อมูลและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง 3
ทสคพ๕๒๓ : ส่วนสำคัญของวิทยาการข้อมูล 3
ทสคพ๖๐๓ : การสัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1
ทสคพ๖๕๙ : เทคโนโลยีและการประยุกต์งานสื่อผสม 3
ทสคพ๖๖๑ : ปัญญาประดิษฐ์ขั้นสูง 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
ทสคพ๕๐๓ : การออกแบบและวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี 3
ทสคพ๕๐๔ : สถาปัตยกรรมและการจัดระบบคอมพิวเตอร์ 3
ทสคพ๕๐๗ : พื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ 3
ทสคพ๕๑๓ : การจัดการโครงการ 3
ทสคพ๕๑๗ : การเรียนรู้เชิงเครื่องจักร 3
ทสคพ๕๑๘ : การวิเคราะห์และความเข้าใจภาพ 3
ทสคพ๕๕๑ : การคำนวณเชิงบริการและคลาวด์ 3
ทสคพ๕๕๒ : การคำนวณแบบเคลื่อนที่และทุกที่ 3
ทสคพ๕๕๔ : การจัดการความมั่นคงของสารสนเทศ 3
ทสคพ๖๑๒ : การโปรแกรมเครือข่าย 3
ทสคพ๖๑๓ : เครื่องมือและสภาพแวดล้อมสำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๑๕ : วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงประจักษ์ 3
ทสคพ๖๒๑ : การออกแบบและการบริหารฐานข้อมูล 3
ทสคพ๖๒๘ : เหมืองข้อมูลและการค้นพบความรู้ 3
ทสคพ๖๓๑ : เครือข่ายสื่อสารคอมพิวเตอร์ 3
ทสคพ๖๔๓ : วิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๔๔ : การประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๕๕ : คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ 3
ทสคพ๖๕๘ : ปฏิสัมพันธ์ของคอมพิวเตอร์และมนุษย์ 3
ทสคพ๖๖๕ : การประมวลผลภาษาธรรมชาติ 3
ทสคพ๖๖๗ : คอมพิวเตอร์วิทัศน์ขั้นสูง 3
ทสคพ๖๖๘ : ฐานข้อมูลระบบคลาวด์และเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ 3
ทสคพ๖๖๙ : แบบจำลองประสิทธิภาพของระบบ 3
ทสคพ๖๘๒ : ระบบฐานข้อมูลขั้นสูง 3
ทสคพ๖๙๖ : หัวข้อขั้นสูงด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
ทสคพ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
ทสคพ๕๐๙ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2
ทสคพ๕๒๑ : การจัดการผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์แบบอไจล์ 3
ทสคพ๕๒๒ : การประมวลผลใกล้แหล่งข้อมูลและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง 3
ทสคพ๕๒๓ : ส่วนสำคัญของวิทยาการข้อมูล 3
ทสคพ๖๐๓ : การสัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1
ทสคพ๖๕๙ : เทคโนโลยีและการประยุกต์งานสื่อผสม 3
ทสคพ๖๖๑ : ปัญญาประดิษฐ์ขั้นสูง 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
ทสคพ๕๐๓ : การออกแบบและวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี 3
ทสคพ๕๐๔ : สถาปัตยกรรมและการจัดระบบคอมพิวเตอร์ 3
ทสคพ๕๐๗ : พื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ 3
ทสคพ๕๑๓ : การจัดการโครงการ 3
ทสคพ๕๑๗ : การเรียนรู้เชิงเครื่องจักร 3
ทสคพ๕๑๘ : การวิเคราะห์และความเข้าใจภาพ 3
ทสคพ๕๕๑ : การคำนวณเชิงบริการและคลาวด์ 3
ทสคพ๕๕๒ : การคำนวณแบบเคลื่อนที่และทุกที่ 3
ทสคพ๕๕๔ : การจัดการความมั่นคงของสารสนเทศ 3
ทสคพ๖๑๒ : การโปรแกรมเครือข่าย 3
ทสคพ๖๑๓ : เครื่องมือและสภาพแวดล้อมสำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๑๕ : วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงประจักษ์ 3
ทสคพ๖๒๑ : การออกแบบและการบริหารฐานข้อมูล 3
ทสคพ๖๒๘ : เหมืองข้อมูลและการค้นพบความรู้ 3
ทสคพ๖๓๑ : เครือข่ายสื่อสารคอมพิวเตอร์ 3
ทสคพ๖๔๓ : วิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๔๔ : การประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๕๕ : คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ 3
ทสคพ๖๕๘ : ปฏิสัมพันธ์ของคอมพิวเตอร์และมนุษย์ 3
ทสคพ๖๖๕ : การประมวลผลภาษาธรรมชาติ 3
ทสคพ๖๖๗ : คอมพิวเตอร์วิทัศน์ขั้นสูง 3
ทสคพ๖๖๘ : ฐานข้อมูลระบบคลาวด์และเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ 3
ทสคพ๖๖๙ : แบบจำลองประสิทธิภาพของระบบ 3
ทสคพ๖๘๒ : ระบบฐานข้อมูลขั้นสูง 3
ทสคพ๖๙๖ : หัวข้อขั้นสูงด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
ทสคพ๖๙๗ : โครงงานวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญสิทธิ์ ยิ้มวาสนา   (ประธานหลักสูตร)
  2. อาจารย์ เพชร สัจจชลพันธ์
  3. อาจารย์ พิสิฐ ไพรวัฒนา
  4. อาจารย์ ทิพาจินต์ ไทยพิสุทธิกุล
  5. รองศาสตราจารย์ ชมทิพ พรพนมชัย
  6. รองศาสตราจารย์ เจริญศรี มิตรภานนท์
  7. รองศาสตราจารย์ วัสกา วิสุทธิวิเศษ
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อนันต์ ศรีสุภาพ
  9. รองศาสตราจารย์ ศุภวงศ์ ทั่วรอบ
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธันวดี สุเนตนันท์
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐิตินันท์ ตันติธรรม
  12. อาจารย์ อัษฎารัตน์ คูรัตน์
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โมเรศ ปรัชญพฤทธิ์
  14. อาจารย์ พัฒนศักดิ์ มงคลวัฒน์
  15. อาจารย์ ปวิตรา เลี่ยมรักษ์
  16. อาจารย์ ศิริเพ็ญ พงษ์ไพเชฐ
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรีสุภา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
  18. อาจารย์ วุฒิชาติ แสวงผล
  19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รวีศักดิ์ ธนวงศ์สุวรรณ
  20. ศาสตราจารย์ Peter Fereed Haddawy
  21. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชาญยศ ปลื้มปิติวิริยะเวช
  22. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปิยนุช ศิลปโชติ
  23. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทรงศรี ตั้งศรีไพโรจน์
  24. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุกัญญา พงษ์สุภาพ
  25. รองศาสตราจารย์ วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์
  26. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัคร สุประทักษ์
  27. อาจารย์ ชัยยงค์ รักขิตเวชสกุล
  28. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดลวรา คุณะดิลก
  29. อาจารย์ อิทธิพล รัศมีโรจน์
  30. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิดาภา ไกรสังข์
  31. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มรกต เชิดเกียรติกุล
  32. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนพล นรเสฏฐ์
  33. อาจารย์ ฐิติวัชร์ พัฒนศักดิ์ภิญโญ