ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ประยุกต์และการวิจัยทางสังคม (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | สถาบันวิจัยประชากรและสังคม |
เว็บไซต์ |
http://www.ipsr.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ประชากรศาสตร์ประยุกต์และการวิจัยทางสังคม)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
Plan 1 Research only (For Student's with Master degree's) Applicants must: 1. Holding a Master's degree in demography/population studies from academic institutes accredited by the Office of the Higher Education Commission; 2. Having cumulative GPA not less than 3.5; 3. Having published at least one research work in applied demography and social research/population studies or related fields in a peer-reviewed journal within 5 years; 4. Having been accepted by IPSR faculty member as a major advisor; 5. Having an English proficiency examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies; 6. Other exceptions may be considered by the Program Director and the Dean of the Faculty of Graduate Studies case by case. Plan 2 Course work and research (For Student's with Master degree's) Applicants must: 1. Holding a Master's degree in demography/population studies or other fields from academic institutes accredited by the Office of the Higher Education Commission; 2. If the applicants who have no demography/population studies background are admitted, they are required to pass basic demographic courses for a total of 6 credits without credit count; 3. Having cumulative GPA not less than 3.5; 4. Having an English proficiency examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies; 5. Other exceptions may be considered by the Program Director and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.
โครงสร้างหลักสูตร
แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 3 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. Researcher in applied demography and social research 2. Expert or specialist in applied demography and social research 3. Consultant in applied demography and social research 4. Policy and plan analyst
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 1
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วจปป๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
แบบ 2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วจปป๖๖๙ : สัมมนาทางประชากรศาสตร์ประยุกต์และการวิจัยทางสังคม | 3 | ||
วจปป๖๘๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมขั้นสูง | 3 | ||
วจปป๗๐๒ : สาระและวิธีวิทยาทางประชากรศาสตร์ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วจปป๖๖๔ : ประชากรศาสตร์ครอบครัว | 3 | ||
วจปป๖๖๗ : วิทยาการระบาดทางประชากร | 3 | ||
วจปป๖๗๔ : การวิจัยทางสังคมศาสตร์เกี่ยวกับผู้สูงอายุ | 3 | ||
วจปป๖๗๖ : การคาดประมาณประชากรขั้นสูง | 3 | ||
วจปป๖๗๘ : ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์กับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ | 3 | ||
วจปป๖๘๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ | 3 | ||
วจปป๖๘๒ : เทคนิคการวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
วจปป๖๘๓ : ประชากรศาสตร์สังคม | 3 | ||
วจปป๖๘๕ : ภาวะเจริญพันธุ์และสิทธิด้านอนามัยเจริญพันธุ์ | 3 | ||
วจปป๖๘๖ : ภาวะการตายและความเจ็บป่วย | 3 | ||
วจปป๖๘๗ : การย้ายถิ่นและนัยยะทางสังคม | 3 | ||
วจปป๖๘๘ : ประชากรศาสตร์การเมือง | 3 | ||
วจปป๖๘๙ : เศรษฐศาสตร์ประชากร | 3 | ||
วจปป๖๙๐ : ประชากรและปัจจัยกำหนดสุขภาพทางสังคม | 3 | ||
วจปป๖๙๑ : ประชากรศาสตร์ธุรกิจ | 3 | ||
วจปป๖๙๓ : การวิเคราะห์พหุตัวแปรประยุกต์เพื่อการวิจัยทางประชากรและสังคม | 3 | ||
วจปป๖๙๔ : แบบจำลองการถดถอยประยุกต์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลช่วงยาว | 3 | ||
วจปป๖๙๕ : ประเด็นและแนวโน้มด้านประชากรและสังคมในอาเซียน | 3 | ||
วจปป๖๙๖ : ผู้สูงวัยในบริบทข้ามวัฒนธรรม | 3 | ||
วจปป๗๐๐ : เศรษฐศาสตร์การสูงวัยของประชากร | 3 | ||
วจปป๗๐๑ : การสูงวัยของประชากร สังคม และนโยบายสาธารณะ | 3 | ||
วจปป๗๐๓ : ทฤษฎีทางสังคมสำหรับประชากรศาสตร์ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วจปป๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดิยาฮ์ อนันตาเลีย วิดยาสตาริ
- รองศาสตราจารย์ สุชาดา ทวีสิทธิ์
- รองศาสตราจารย์ สุดารัตน์ มุสิกะวงศ์
- รองศาสตราจารย์ จรัมพร โห้ลำยอง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนกวรรณ ธราวรรณ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มาลี สันภูวรรณ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พจนา หันจางสิทธิ์
- รองศาสตราจารย์ รศรินทร์ เกรย์
- รองศาสตราจารย์ กาญจนา ตั้งชลทิพย์
- รองศาสตราจารย์ โยธิน แสวงดี
- ศาสตราจารย์ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
- รองศาสตราจารย์ สุรีย์พร พันพึ่ง
- รองศาสตราจารย์ อารี จำปากลาย
- รองศาสตราจารย์ มนสิการ กาญจนะจิตรา
- รองศาสตราจารย์ เฉลิมพล แจ่มจันทร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สักกรินทร์ นิยมศิลป์
- อาจารย์ ณปภัช สัจนวกุล
- รองศาสตราจารย์ ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วากาโกะ ทาเคดะ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดุสิตา พึ่งสำราญ
- รองศาสตราจารย์ ธีรนงค์ สกุลศรี
- รองศาสตราจารย์ สิรินทร์ยา พูลเกิด
- อาจารย์ สรัญญา สุจริตพงศ์
- รองศาสตราจารย์ อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์
- รองศาสตราจารย์ ศุทธิดา ชวนวัน
- รองศาสตราจารย์ ภูเบศร์ สมุทรจักร
- อาจารย์ ตรึก ง็อค ฮวน ดัง
- อาจารย์ นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์
- รองศาสตราจารย์ มาร์ก เฟิลเคอร์
- รองศาสตราจารย์ ปิยวัฒน์ เกตุวงศา
- รองศาสตราจารย์ จงจิตต์ ฤทธิรงค์