เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอาทิตย์ที่   5   พฤษภาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์สุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.hssip.sh.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(สังคมศาสตร์สุขภาพ)

จุดเด่นของหลักสูตร

หลักสูตรนี้แตกต่างจากหลักสูตรอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยมหิดล ตรงที่การใช้เครืองมือทางสังคมศาสตร์ คือ แนวคิดเชิงทฤษฎีและวิธีวิทยา ในการทำความเข้าใจ และเสนอทางออกในการเผชิญกับปัญหาสุขภาพ นอกจากนี้ หลักสูตรนี้ ยังเป็นการออกแบบ เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนสู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพในภูมิภาค ด้วยการทำงานร่วมกับเครือข่ายศิษย์เก่า องค์กรพัฒนาทั้งรัฐและเอกชน และ องค์กรแหล่งทุน ในประเทศ ต่างๆทั้งในและนอกภูมิภาค ในการสร้างพัฒนากำลังคนด้านสังคมศาสตร์สุขภาพ ด้วยการสร้างโอกาส การเข้าถึงการเรียนระดับบัณฑิตศึกษาของ บุคคลากรที่มีศักยภาพแต่ขาดโอกาส ในภูมิภาค และหลักสูตรนี้มุ่งตอบโจทย์ผลกระทบทางสังคมและสุขภาพ ที่เป็นจากการเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาค โดยกรอบการทำเรียนการสอน การวิจัย และที่คาดหวังให้เกิดกับผู้เรียน จะเป็นกรอบความคิดในระดับ ภูมิภาคและนานาชาติ

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 1.1: Academic (Research Only) Applicant
(1) Holding a Master's Degree or equivalent in Health Social Sciences, or be in the final year of study in the field of Social Sciences or Health Social Sciences or other related fields
(2) Have cumulative GPA not less than 3.50.
(3) Have at least 3 years working experience in research in Health Social Sciences and have publications in English in accredited international journals or proceedings (minimum 2 papers)
(4) Have a clearly defined and complete thesis plan, which is accepted as suitable to the doctoral level by the committee of the Ph.D. Program.
(5) Have an English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies
(6) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies
(7) Qualifications different from (2), (4) - (6) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

Plan 2: Academic (Courses work and Research) Applicant
Plan 2.1 For Students with Master's Degree
(1) Holding a Master's Degree or equivalent in Health Social Sciences, or be in the final year of study in the field of Social Sciences or Health Social Sciences or other related fields
(2) Have cumulative GPA not less than 3.50.
(3) Have an English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies
(4) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies
(5) Qualifications different from (2) - (4) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

Plan 2.2 For Students with Bachelor's Degree
(1) Holding a Bachelor's Degreeor equivalent in Health Social Sciences, or be in the final year of study in the field of Social Sciences or Health Social Sciences or other related fields
(2) Have an excellent record (First Class Honor) or with a grade point average of at least 3.50
(3) Have an English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies
(4) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies
(5) Qualifications different from (3) - (4) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

โครงสร้างหลักสูตร

แผน 1.1 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แผน 2.1 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แผน 2.2 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Health social science scholars and knowledge transferers in higher education
2. Health social science researchers, analysts and evaluators of health social sciences policies in public and private institutions and organizations.

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
สภสภ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
สมสภ๕๔๘ : ทฤษฎีสังคมศาสตร์สุขภาพ 3
สมสภ๕๕๐ : การวิจัยทางสังคมศาสตร์สุขภาพ 3
สมสภ๖๖๑ : สัมมนาแนวทางสหสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์สุขภาพ 3
สมสภ๖๗๖ : ทฤษฎีสังคมศาสตร์สุขภาพขั้นสูง 3
สมสภ๖๗๗ : การวิจัยสังคมศาสตร์สุขภาพขั้นสูง 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
สมสภ๖๖๑ : สัมมนาแนวทางสหสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์สุขภาพ 3
สมสภ๖๗๖ : ทฤษฎีสังคมศาสตร์สุขภาพขั้นสูง 3
สมสภ๖๗๗ : การวิจัยสังคมศาสตร์สุขภาพขั้นสูง 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สมภส๖๓๑ : ทฤษฎีสังคมวิทยาสุขภาพร่วมสมัย 3
สมสภ๖๐๓ : โลกาภิวัตน์กับโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ 3
สมสภ๖๐๔ : การวิจัยประเมินผลทางสุขภาพ 3
สมสภ๖๐๖ : จากการวิจัยสู่การปฏิบัติทางการพัฒนาสุขภาพ 3
สมสภ๖๑๙ : ชนกลุ่มน้อย ประชากรชายขอบ ความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพและตัวกำหนดสุขภาพเชิงสังคม 3
สมสภ๖๒๔ : ทักษะและแนวทางการคิด 3
สมสภ๖๒๖ : การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณขั้นสูง 3
สมสภ๖๒๗ : ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพขั้นสูง 3
สมสภ๖๒๘ : การทำความเข้าใจพฤติกรรมสุขภาพร่วมกัน ด้วยแบบจำลอง-ความคิดพฤติกรรม ร่วมสมัย 3
สมสภ๖๒๙ : โลกาภิวัตน์ ภูมิรัฐศาสตร์ และสุขภาพร่วมสมัย 3
สมสภ๖๓๐ : ประเด็นร่วมสมัยในการพัฒนาระบบสุขภาพอาเซียน 3
สมสภ๖๓๒ : มานุษยวิทยาดิจิตอลและสุขภาพ 3
สมสภ๖๓๓ : การอ่านตามกำหนดทางสังคมศาสตร์สุขภาพ 3
สมสภ๖๓๔ : การคลังสุขภาพเพื่อหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืน 3
สมสภ๖๓๕ : การวางแผนและการบริหารนโยบายสุขภาพ 3
สมสภ๖๓๖ : จิตวิทยาสุขภาพเชิงบริบท 3
สมสภ๖๓๗ : การวัดและการวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปรสำหรับการวิจัยทางสังคม พฤติกรรม และสุขภาพ 3
สมสภ๖๓๘ : มานุษยวิทยาการแพทย์ 3
สมสภ๖๓๙ : ทฤษฎีองค์การ 3
สมสภ๖๔๐ : เศรษฐศาสตร์การเมืองและสุขภาพโลก 3
สมสภ๖๔๑ : ประชากรสูงวัยและรัฐสวัสดิการในมุมมองระดับโลก 3
สมสภ๖๔๒ : การศึกษาความยากจนและสุขภาพ 3
สมสภ๖๔๔ : มานุษยวิทยาเควียร์ทางเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 3
สมสภ๖๔๕ : ระบาดวิทยาสังคม: ทฤษฎีและวิธีการ 3
สมสภ๖๔๖ : การออกแบบการคุ้มครองทางสังคมเพื่อสุขภาพและความมั่นคงทางรายได้ 3
สมสภ๖๔๗ : สังคมศาสตร์ สุขภาพทางเพศ และสิทธิการอนามัยเจริญพันธ์ 3
สมสภ๖๔๘ : แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาและมานุษยวิทยาการแพทย์ 3
สมสภ๖๕๔ : วิธีการวิจัยเชิงปริมาณขั้นสูง 3
สมสภ๖๖๔ : เพศวิถี เพศภาวะ และสุขภาวะ 3
สมสภ๖๖๕ : ตัวกำหนดสุขภาพทางสังคมและความเป็นธรรม 3
สมสภ๖๖๖ : การวิเคราะห์และพัฒนาระบบสุขภาพ 3
สมสภ๖๖๗ : ความเป็นชายและสุขภาพ 3
สมสภ๖๗๕ : หลักปรัชญากับทฤษฎีทางสังคม 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
สมสภ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
สมสภ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36