หมวดวิชาบังคับ |
หน่วยกิต |
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี |
|
นวฟท๕๑๑ : พลศาสตร์คลาสสิก |
2 |
|
นวฟท๕๑๒ : กลศาสตร์ควอนตัม |
2 |
|
นวฟท๕๒๑ : อุณหพลศาสตร์สมดุลและการเปลี่ยนวัฏภาค |
2 |
|
นวฟท๕๓๑ : พลศาสตร์ของไหล |
2 |
|
นวฟท๖๐๑ : ระบบที่ปริพันธ์ได้ |
2 |
|
นวฟท๖๑๑ : ทฤษฎีสนามคลาสสิก |
2 |
|
นวฟท๖๔๑ : ระบบซับซ้อนและปรับตัวได้ |
2 |
|
นวฟท๖๙๑ : สัมมนาทางฟิสิกส์ทฤษฎีและปรัชญาธรรมชาติ |
1 |
|
นวฟท๗๐๑ : ปรัชญาของระบบธรรมชาติ |
1 |
|
นวฟท๗๐๒ : สมมาตรและพีชคณิตของลีในฟิสิกส์ |
2 |
|
นวฟท๗๔๑ : พลวัตไม่เชิงเส้น |
2 |
|
นวฟท๘๐๑ : เรขาคณิตและทอพอโลยีในฟิสิกส์ |
3 |
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท |
|
นวฟท๖๔๑ : ระบบซับซ้อนและปรับตัวได้ |
2 |
|
นวฟท๖๙๑ : สัมมนาทางฟิสิกส์ทฤษฎีและปรัชญาธรรมชาติ |
1 |
|
นวฟท๗๐๑ : ปรัชญาของระบบธรรมชาติ |
1 |
|
นวฟท๗๐๒ : สมมาตรและพีชคณิตของลีในฟิสิกส์ |
2 |
|
นวฟท๗๔๑ : พลวัตไม่เชิงเส้น |
2 |
|
นวฟท๘๐๑ : เรขาคณิตและทอพอโลยีในฟิสิกส์ |
3 |
หมวดวิชาเลือก |
หน่วยกิต |
|
Courses in foundation of theoretical physics and mathematics |
|
นวฟท๕๐๑ : กระบวนวิธีทางคณิตศาสตร์สำหรับฟิสิกส์ |
2 |
Courses in high energy physics |
|
นวฟท๘๑๓ : ทฤษฎีสนามเชิงสถิติ |
3 |
Courses in foundation of theoretical physics and mathematics |
|
นวฟท๕๐๒ : ฟังก์ชันกรีนและการแผ่กระจาย |
2 |
|
นวฟท๕๐๓ : ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขในฟิสิกส์ |
2 |
|
นวฟท๕๑๓ : พลศาสตร์ไฟฟ้าคลาสสิก |
2 |
|
นวฟท๕๒๒ : กลศาสตร์เชิงสถิติสมดุลและทฤษฎีจลน์ |
2 |
|
นวฟท๕๓๒ : การสั่นสะเทือนและคลื่น |
2 |
|
นวฟท๕๕๑ : สัมพัทธภาพพิเศษ |
2 |
|
นวฟท๖๑๒ : กลศาสตร์ควอนตัมเชิงสัมพัทธภาพ |
2 |
|
นวฟท๖๑๓ : กลศาสตร์ควอนตัมและปริพันธ์ตามวิถี |
2 |
|
นวฟท๖๑๔ : อนุภาคและสนาม |
2 |
|
นวฟท๖๓๑ : สัญญาณและระบบ |
2 |
|
นวฟท๖๘๑ : สถิติสำหรับฟิสิกส์ |
2 |
|
นวฟท๖๘๒ : การจำลองด้วยคอมพิวเตอร์สำหรับฟิสิกส์ |
2 |
Courses in high energy physics |
|
นวฟท๗๑๑ : สนามควอนตัมเชิงสัมพัทธภาพ |
3 |
|
นวฟท๗๑๒ : สนามควอนตัมเชิงสัมพัทธภาพ |
3 |
|
นวฟท๗๑๓ : โซลิตอนและอินสแตนตอน |
3 |
|
นวฟท๗๑๔ : สนามควอนตัมบนกาลอวกาศโค้ง |
3 |
|
นวฟท๗๑๕ : ทฤษฎีสนามที่อุณหภูมิจำกัด |
3 |
|
นวฟท๘๑๑ : สมมาตรยวดยิ่งและความโน้มถ่วงยวดยิ่ง |
3 |
|
นวฟท๘๑๒ : ทฤษฎีสตริง |
3 |
|
นวฟท๘๑๔ : ความโน้มถ่วงควอนตัมแบบลูป |
3 |
|
นวฟท๘๑๕ : ทฤษฎีสนามควอนตัมขั้นสูง |
3 |
|
นวฟท๘๑๖ : ทฤษฎีเกจเชิงทอพอโลยีและวัฏภาคเรขาคณิต |
3 |
Courses in gravitational theory and cosmology |
|
นวฟท๗๕๑ : สัมพัทธภาพทั่วไป |
4 |
|
นวฟท๗๖๑ : จักรวาลวิทยา |
3 |
|
นวฟท๗๖๒ : เอกภพระยะแรกเริ่ม |
3 |
|
นวฟท๗๖๓ : จักรวาลวิทยาเชิงการสังเกตการณ์ |
3 |
|
นวฟท๘๕๑ : สัมพัทธภาพทั่วไปขั้นสูง |
3 |
|
นวฟท๘๕๒ : ทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบสเกลาร์-เท็นเซอร์ |
3 |
|
นวฟท๘๕๓ : พลังงานมืดและความโน้มถ่วงขยายความ |
3 |
|
นวฟท๘๕๔ : สมมาตรเกจในความโน้มถ่วง |
3 |
|
นวฟท๘๕๕ : ฟิสิกส์ของหลุมดำ |
3 |
|
นวฟท๘๕๖ : รากฐานเชิงทฤษฎีของจักรวาลวิทยา |
3 |
|
นวฟท๘๖๑ : รังสีคอสมิกไมโครเวฟพื้นหลัง |
3 |
|
นวฟท๘๖๒ : จักรวาลวิทยาควอนตัม |
3 |
Courses in collective systems and complexity |
|
นวฟท๗๒๑ : อุณหพลศาสตร์ไม่สมดุล |
3 |
|
นวฟท๗๒๒ : กลศาสตร์เชิงสถิติขั้นสูง |
3 |
|
นวฟท๗๒๓ : กลศาสตร์เชิงสถิติไม่สมดุล |
3 |
|
นวฟท๗๓๑ : สภาพปั่นป่วน |
3 |
|
นวฟท๗๓๒ : การกระเพื่อมในระบบกายภาพ |
3 |
|
นวฟท๗๓๓ : การซิงโครไนซ์ |
3 |
|
นวฟท๗๓๔ : ฟิสิกส์สสารควบแน่น |
3 |
|
นวฟท๗๓๕ : ฟิสิกส์ของสารเม็ดละเอียด |
3 |
|
นวฟท๗๔๒ : โครงข่ายซับซ้อน |
3 |
|
นวฟท๗๔๓ : การปรับมาตร |
3 |
|
นวฟท๗๔๔ : การจัดเรียงตัวเองและการเกิดแบบลาย |
3 |
|
นวฟท๗๗๑ : ฟิสิกส์ของระบบเศรษฐกิจและการเงิน |
3 |
|
นวฟท๗๗๒ : ฟิสิกส์ของระบบสังคม |
3 |
|
นวฟท๗๗๓ : ฟิสิกส์ของระบบนิเวศน์ |
3 |
|
นวฟท๗๗๔ : ฟิสิกส์ของการจราจร |
3 |
|
นวฟท๗๘๑ : ความน่าจะเป็น เอนโทรปี ข่าวสาร และการสื่อสาร |
3 |
|
นวฟท๗๘๒ : BAYESIAN DATA ANALYSIS |
3 |
|
นวฟท๗๘๓ : การวิเคราะห์อนุกรมเวลา |
3 |
|
นวฟท๗๘๔ : ทฤษฎีเมตริกซ์สุ่ม |
3 |
|
นวฟท๗๘๕ : แคลคูลัสสโตแคสติกสำหรับฟิสิกส์ |
3 |
|
นวฟท๗๘๖ : ทฤษฎีเกมประยุกต์และพลวัตเชิงวิวัฒนาการ |
3 |
|
นวฟท๘๒๑ : ทฤษฎีปรากฏการณ์วิกฤติ |
3 |
|
นวฟท๘๒๒ : การเปลี่ยนวัฏภาคในทฤษฎีสนามคลาสสิก |
3 |
|
นวฟท๘๔๑ : ซินเนอร์จีติกส์ |
3 |
|
นวฟท๘๔๒ : ซินเนอร์จีติกส์ 2 |
3 |
|
นวฟท๘๔๓ : ทฤษฎีหายนะพิบัติ |
3 |
|
นวฟท๘๔๔ : การเดินแบบสุ่มและการรีนอร์มัลไลเซชัน |
3 |
วิทยานิพนธ์ |
หน่วยกิต |
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี |
|
นวฟท๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ |
48 |
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท |
|
นวฟท๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ |
36 |