ผู้สนใจเข้าศึกษา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างพอเพียง (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ |
เว็บไซต์ |
https://na.mahidol.ac.th/master/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(นวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างพอเพียง)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ๑.๒ แบบวิชาการ ๑. สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ทุกสาขาวิชา ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ๓. มีประสบการณ์การทำงานมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี ๔. คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด ๕. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ ๔ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ๒ แบบวิชาชีพ ๑. สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ทุกสาขาวิชา ๒. มีประสบการณ์การทำงานมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี ๓. คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด ๔. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ ๓ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน 2 แบบวิชาชีพ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 15 | หน่วยกิต | |
การค้นคว้าอิสระ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารทั้งในองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ที่สามารถสร้างนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างพอเพียงด้านบริการสุขภาพแบบองค์รวม หรือด้านเกษตรและอาหาร หรือด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านบริหาร หรือด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- นักวิชาการที่สามารถสร้างนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างพอเพียงด้านบริการสุขภาพแบบองค์รวม หรือด้านเกษตรและอาหาร หรือด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านบริหาร หรือด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- นักวิจัยที่สามารถสร้างนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างพอเพียงด้านบริการสุขภาพแบบองค์รวม หรือด้านเกษตรและอาหาร หรือด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านบริหาร หรือด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
นวนพ๕๐๑ : ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในวิถีชีวิต | 3 | ||
นวนพ๕๐๕ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม | 3 | ||
นวนพ๕๐๗ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๑ | 3 | ||
นวนพ๕๐๙ : การจัดการนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างพอเพียง | 3 | ||
นวนพ๕๑๐ : พุทธเศรษฐศาสตร์กับการประกอบการ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
นวนพ๕๐๓ : ทักษะการคิดเชิงระบบและวิทยาศาสตร์สู่กรอบคิดเติบโต | 3 | ||
นวนพ๕๑๑ : การจัดการห่วงโซ่คุณค่าจากโครงการนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | 3 | ||
นวนพ๕๑๒ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
นวนพ๕๑๓ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร | 3 | ||
นวนพ๕๑๔ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | 3 | ||
นวนพ๕๑๕ : สัมมนาทางการจัดการ บริหารรัฐกิจ | 3 | ||
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน | 3 | ||
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ | 3 | ||
นวนพ๖๑๖ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๓ | 3 | ||
นวนพ๖๑๗ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
นวนพ๖๑๘ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทางวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร | 3 | ||
นวนพ๖๑๙ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | 3 | ||
นวนพ๖๒๐ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทางการจัดการ บริหารรัฐกิจ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
นวนพ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
นวนพ๕๐๑ : ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในวิถีชีวิต | 3 | ||
นวนพ๕๐๕ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม | 3 | ||
นวนพ๕๐๗ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๑ | 3 | ||
นวนพ๕๐๙ : การจัดการนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างพอเพียง | 3 | ||
นวนพ๕๑๐ : พุทธเศรษฐศาสตร์กับการประกอบการ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
นวนพ๕๐๓ : ทักษะการคิดเชิงระบบและวิทยาศาสตร์สู่กรอบคิดเติบโต | 3 | ||
นวนพ๕๑๑ : การจัดการห่วงโซ่คุณค่าจากโครงการนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | 3 | ||
นวนพ๕๑๒ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
นวนพ๕๑๓ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร | 3 | ||
นวนพ๕๑๔ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | 3 | ||
นวนพ๕๑๕ : สัมมนาทางการจัดการ บริหารรัฐกิจ | 3 | ||
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน | 3 | ||
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ | 3 | ||
นวนพ๖๑๖ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๓ | 3 | ||
นวนพ๖๑๗ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
นวนพ๖๑๘ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทางวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร | 3 | ||
นวนพ๖๑๙ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | 3 | ||
นวนพ๖๒๐ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทางการจัดการ บริหารรัฐกิจ | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
นวนพ๖๙๖ : การค้นคว้าอิสระ | 6 |