เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   26   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์
เว็บไซต์ https://na.mahidol.ac.th/master/

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(นวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ก แบบ ก ๒
(๑) สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมรับรอง
(๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
(๓) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย
(๔) มีประสบการณ์การทำงานมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี
(๕) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ข
(๑) สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมรับรอง
(๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
(๓) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย
(๔) มีประสบการณ์การทำงานมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี 
(๕) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 21            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 21            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้ปฏิบัติงานที่สามารถสร้างนวัตกรรมสาธารณะด้านบริการสุขภาพและสาธารณสุข หรือด้านเกษตรและอาหาร หรือด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านบริหาร
- นักวิชาการที่สามารถสร้างนวัตกรรมสาธารณะด้านบริการสุขภาพและสาธารณสุข หรือด้านเกษตรและอาหาร หรือด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านบริหาร
- นักวิจัยที่สามารถสร้างนวัตกรรมสาธารณะด้านบริการสุขภาพและสาธารณสุข หรือด้านเกษตรและอาหาร หรือด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านบริหาร
- ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรของเอกชนและชุมชน ที่สามารถสร้างนวัตกรรมสาธารณะด้านบริการสุขภาพและสาธารณสุข หรือด้านเกษตรและอาหาร หรือด้านสิ่งแวดล้อม หรือด้านบริหาร

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
นวนพ๕๐๑ : ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในวิถีชีวิต 3
นวนพ๕๐๒ : การจัดการนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 3
นวนพ๕๐๓ : ทักษะการคิดเชิงระบบและวิทยาศาสตร์สู่กรอบคิดเติบโต 2
นวนพ๕๐๔ : สัมมนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 1
นวนพ๕๐๕ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 3
นวนพ๕๐๖ : พุทธเศรษฐศาสตร์กับการสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 3
นวนพ๕๐๗ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๑ 3
นวนพ๕๐๘ : การจัดการห่วงโซ่คุณค่าจากโครงการนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   กลุ่มวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
นวนพ๕๑๒ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน 3
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ 3
นวนพ๖๑๒ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3
   กลุ่มวิชาด้านวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร
นวนพ๕๑๓ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร 3
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน 3
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ 3
นวนพ๖๑๓ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นทางวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร 3
   กลุ่มวิชาด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
นวนพ๕๑๔ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน 3
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ 3
นวนพ๖๑๔ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3
   กลุ่มวิชาด้านการจัดการ บริหารรัฐกิจ
นวนพ๕๑๕ : สัมมนาทางการจัดการ บริหารรัฐกิจ 3
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน 3
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ 3
นวนพ๖๑๕ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นทางการจัดการ บริหารรัฐกิจ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
นวนพ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
นวนพ๕๐๑ : ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในวิถีชีวิต 3
นวนพ๕๐๒ : การจัดการนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 3
นวนพ๕๐๓ : ทักษะการคิดเชิงระบบและวิทยาศาสตร์สู่กรอบคิดเติบโต 2
นวนพ๕๐๔ : สัมมนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 1
นวนพ๕๐๕ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 3
นวนพ๕๐๖ : พุทธเศรษฐศาสตร์กับการสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 3
นวนพ๕๐๗ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๑ 3
นวนพ๕๐๘ : การจัดการห่วงโซ่คุณค่าจากโครงการนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   กลุ่มวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
นวนพ๕๑๒ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน 3
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ 3
นวนพ๖๑๒ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3
   กลุ่มวิชาด้านวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร
นวนพ๕๑๓ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร 3
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน 3
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ 3
นวนพ๖๑๓ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นทางวิทยาศาสตร์เกษตรและอาหาร 3
   กลุ่มวิชาด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
นวนพ๕๑๔ : สัมมนาทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน 3
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ 3
นวนพ๖๑๔ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3
   กลุ่มวิชาด้านการจัดการ บริหารรัฐกิจ
นวนพ๕๑๕ : สัมมนาทางการจัดการ บริหารรัฐกิจ 3
นวนพ๕๑๖ : เทคโนโลยีดิจิทัลและการเปลี่ยนผ่าน 3
นวนพ๖๑๑ : บูรณาการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม ๒ 3
นวนพ๖๑๕ : การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นทางการจัดการ บริหารรัฐกิจ 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
นวนพ๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6