ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ |
เว็บไซต์ |
|
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ๑ แบบวิชาการ ๑. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา ๒. คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด ๓. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ ๒ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย แผน ๒ แบบวิชาชีพ ๑. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา ๒. มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับ ไม่น้อยกว่า ๑ ปี ๓. คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด ๔. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ ๓ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน 2 แบบวิชาชีพ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 15 | หน่วยกิต | |
การค้นคว้าอิสระ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
๑) ผู้เชี่ยวชาญด้านชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน ๒) นักวิจัยด้านชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน ๓) นักวิชาการด้านชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน ๔) ต่อยอดกับภาระงานและอาชีพในตำแหน่งต่างๆ อาทิ เช่น พยาบาลชุมชน นักวิชาการสาธารณสุข นักสังคมสงเคราะห์ นักพัฒนาชุมชน นักวิเคราะนโยบายและแผน ครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ครูอนุบาล และนักวิชาการเกษตร เป็นต้น
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
อจชย๕๐๑ : ชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๐๒ : ระเบียบวิธีวิจัยทางชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๐๓ : นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลยุคใหม่ | 3 | ||
อจชย๕๐๔ : สัมมนาทางชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๐๕ : ฝึกปฏิบัติทางชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
อจชย๕๐๖ : ทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ | 3 | ||
อจชย๕๐๗ : การวิจัยเชิงคุณภาพ | 3 | ||
อจชย๕๐๘ : ภาวะผู้นำเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง | 3 | ||
อจชย๕๐๙ : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการสุขภาพชุมชน | 3 | ||
อจชย๕๑๐ : ระบาดวิทยาและระบาดวิทยาเชิงสังคม | 3 | ||
อจชย๕๑๑ : ระบบการดูแลกลุ่มเปราะบางในชุมชน | 3 | ||
อจชย๕๑๒ : ผู้ประกอบการด้านสุขภาพ | 3 | ||
อจชย๕๑๓ : ระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ | 3 | ||
อจชย๕๑๔ : ระบบการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน | 3 | ||
อจชย๕๑๕ : การจัดการระบบสุขภาวะเชิงพื้นที่ | 3 | ||
อจชย๕๑๖ : การพัฒนาที่ยั่งยืนและประเด็นทางสังคมเพื่อการเยียวยาเด็ก | 3 | ||
อจชย๕๑๗ : การเรียนรู้โดยนักปฏิบัติการการเล่น | 3 | ||
อจชย๕๑๘ : การส่งเสริมทักษะสมองส่วนหน้าและวินัยเชิงบวก | 3 | ||
อจชย๕๑๙ : การดูแลและการสอนผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ | 3 | ||
อจชย๕๒๐ : นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและสังคมเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว | 3 | ||
อจชย๕๒๑ : การส่งเสริมกิจกรรมทางกายสำหรับเด็ก | 3 | ||
อจชย๕๒๒ : ผู้จัดการความปลอดภัยและคุ้มครองเด็ก | 3 | ||
อจชย๕๒๓ : นักปฏิบัติการด้านการเรียนรู้และการดูแลเด็กปฐมวัย | 3 | ||
อจชย๕๒๔ : นโยบายสาธารณะและการสร้างภาคีภิบาลเพื่อการพัฒนา | 3 | ||
อจชย๕๒๕ : นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสังคม | 3 | ||
อจชย๕๒๖ : การพัฒนาและการประเมินโครงการพัฒนาสังคม | 3 | ||
อจชย๕๒๗ : การพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๒๘ : วิสาหกิจเพื่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๒๙ : การจัดการฐานทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่น | 3 | ||
อจชย๕๓๐ : การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๓๑ : ผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร | 3 | ||
อจชย๕๓๒ : เทคโนโลยีชีวโมเลกุลเพื่อเกษตรกรรมยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๓๓ : ระบบการผลิตและการจัดการสัตว์เลี้ยงอย่างยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๓๔ : เกษตรอินทรีย์และการรับรองมาตรฐาน | 3 | ||
อจชย๕๓๕ : การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร | 3 | ||
อจชย๕๓๖ : อาหารจากสัตว์และสุขภาพ | 3 | ||
อจชย๕๓๗ : การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
อจชย๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
อจชย๕๐๑ : ชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๐๒ : ระเบียบวิธีวิจัยทางชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๐๓ : นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลยุคใหม่ | 3 | ||
อจชย๕๐๔ : สัมมนาทางชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๐๕ : ฝึกปฏิบัติทางชุมชนสุขภาวะและความยั่งยืน | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
อจชย๕๐๖ : ทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ | 3 | ||
อจชย๕๐๗ : การวิจัยเชิงคุณภาพ | 3 | ||
อจชย๕๐๘ : ภาวะผู้นำเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง | 3 | ||
อจชย๕๐๙ : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการสุขภาพชุมชน | 3 | ||
อจชย๕๑๐ : ระบาดวิทยาและระบาดวิทยาเชิงสังคม | 3 | ||
อจชย๕๑๑ : ระบบการดูแลกลุ่มเปราะบางในชุมชน | 3 | ||
อจชย๕๑๒ : ผู้ประกอบการด้านสุขภาพ | 3 | ||
อจชย๕๑๓ : ระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ | 3 | ||
อจชย๕๑๔ : ระบบการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน | 3 | ||
อจชย๕๑๕ : การจัดการระบบสุขภาวะเชิงพื้นที่ | 3 | ||
อจชย๕๑๖ : การพัฒนาที่ยั่งยืนและประเด็นทางสังคมเพื่อการเยียวยาเด็ก | 3 | ||
อจชย๕๑๗ : การเรียนรู้โดยนักปฏิบัติการการเล่น | 3 | ||
อจชย๕๑๘ : การส่งเสริมทักษะสมองส่วนหน้าและวินัยเชิงบวก | 3 | ||
อจชย๕๑๙ : การดูแลและการสอนผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ | 3 | ||
อจชย๕๒๐ : นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและสังคมเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว | 3 | ||
อจชย๕๒๑ : การส่งเสริมกิจกรรมทางกายสำหรับเด็ก | 3 | ||
อจชย๕๒๒ : ผู้จัดการความปลอดภัยและคุ้มครองเด็ก | 3 | ||
อจชย๕๒๓ : นักปฏิบัติการด้านการเรียนรู้และการดูแลเด็กปฐมวัย | 3 | ||
อจชย๕๒๔ : นโยบายสาธารณะและการสร้างภาคีภิบาลเพื่อการพัฒนา | 3 | ||
อจชย๕๒๕ : นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสังคม | 3 | ||
อจชย๕๒๖ : การพัฒนาและการประเมินโครงการพัฒนาสังคม | 3 | ||
อจชย๕๒๗ : การพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๒๘ : วิสาหกิจเพื่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๒๙ : การจัดการฐานทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่น | 3 | ||
อจชย๕๓๐ : การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๓๑ : ผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร | 3 | ||
อจชย๕๓๒ : เทคโนโลยีชีวโมเลกุลเพื่อเกษตรกรรมยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๓๓ : ระบบการผลิตและการจัดการสัตว์เลี้ยงอย่างยั่งยืน | 3 | ||
อจชย๕๓๔ : เกษตรอินทรีย์และการรับรองมาตรฐาน | 3 | ||
อจชย๕๓๕ : การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร | 3 | ||
อจชย๕๓๖ : อาหารจากสัตว์และสุขภาพ | 3 | ||
อจชย๕๓๗ : การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
อจชย๖๙๖ : การค้นคว้าอิสระ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ ไพรินทร์ ยอดสุบัน (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โชติกา เมืองสง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นงนุช สังข์อยุทธ์
- รองศาสตราจารย์ ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร
- รองศาสตราจารย์ เวหา เกษมสุข
- ศาสตราจารย์ สุภา เพ่งพิศ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปัณฑารีย์ แต้ประยูร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิทยา แก้วศรี
- อาจารย์ จีรศักดิ์ เพิ่มฉลาด
- อาจารย์ หนึ่งฤทัย เสนาราษฎร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สำอางค์ ศุภฤกษ์