เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันเสาร์ที่   20   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน โครงการร่วมคณะเภสัชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม
เว็บไซต์

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 1.1 For students with Master's Degree 
(1) Holding a Master degree in medical sciences, public health or economics which accredited by the Office of the Higher Education Commission
(2) Having cumulative GPA not less than 3.50 and having the experience in teaching or be involved in academic related-work or working in health insurance system or conducting health technology assessment research for at least 2 years and having at least 1 publication in the international journal in which the candidate is the first or corresponding author.
(3) Having English proficiency examination score passing the criteria of Faculty of Graduate Studies
(4) The candidate who does not pass the criteria (2) and (3) may be considered for application and selection by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies

Plan 2.1 For students with Master's Degree 
(1) Holding a Master degree in medical sciences, public health or economics which accredited by the Office of the Higher Education Commission
(2) Having cumulative GPA not less than 3.50 and having the experience in teaching or be involved in academic related-work or working in health insurance system or conducting health technology assessment research for at least 2 years.
(3) Having English proficiency examination score passing the criteria of Faculty of Graduate Studies
(4) The candidate who does not pass the criteria (2) and (3) may be considered for application and selection by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies

Plan 2.2 For students with Bachelor's Degree
(1) Holding a Bachelor degree in medical sciences, public health or economics which accredited by the Office of the Higher Education Commission 
(2) Having cumulative GPA not less than 3.50
(3) Having English proficiency examination score passing the criteria of Faculty of Graduate Studies
(4) The candidate who does not pass the criteria (2) and (3) may be considered for application and selection by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 7            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 5            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- นักวิจัยที่มีสมรรถนะสูงด้านการประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
- ผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการด้านการประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
บฑปส๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
บฑปส๖๒๐ : การประเมินทางเศรษฐศาสตร์สำหรับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 3
บฑปส๖๒๑ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 2
บฑปส๖๒๓ : หลักการและแนวคิดของการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 2
บฑปส๖๒๔ : หลักการและแนวคิดของนโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพ 2
บฑปส๖๓๒ : สถิติทางการแพทย์สำหรับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 2
บฑปส๖๗๕ : เทคโนโลยีด้านสุขภาพและผลกระทบต่อสังคม 3
บฑปส๖๗๖ : ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 3
บฑปส๖๗๗ : สัมมนาทางการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ ๒ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
บฑปส๖๗๕ : เทคโนโลยีด้านสุขภาพและผลกระทบต่อสังคม 3
บฑปส๖๗๖ : ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 3
บฑปส๖๗๗ : สัมมนาทางการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ ๒ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
บฑปส๖๒๖ : การจัดลำดับความสำคัญทางการประกันสุขภาพถ้วนหน้า 2
บฑปส๖๒๗ : ระบบการดูแลสุขภาพและการเงินการคลังนานาชาติ 2
บฑปส๖๒๘ : หลักการทางเศรษฐศาสตร์สำหรับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 2
บฑปส๖๒๙ : จริยธรรมและความเสมอภาคในการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 2
บฑปส๖๓๐ : กฎหมายและการค้าสำหรับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพระหว่างประเทศ 2
บฑปส๖๓๑ : การประเมินผลกระทบทางสังคมของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 2
บฑปส๖๓๓ : วิทยาการระบาดคลินิกและเวชปฏิบัติอิงหลักฐานสำหรับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 2
ภกภส๖๗๗ : การประเมินผลลัพธ์ทางสุขภาพ 3
ภกภส๖๗๙ : การวิเคราะห์ต้นทุนในการดูแลสุขภาพ 3
ภกภส๖๘๓ : การสร้างแบบจำลองต้นทุนประสิทธิผลด้านสุขภาพ 3
ภกภส๖๙๔ : การวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลโดยใช้การทดลองทางคลินิกและการศึกษาแบบสังเกต 3
รมรค๖๑๘ : การทบทวนอย่างเป็นระบบและอภิวิเคราะห์ 3
รมรค๖๒๔ : สารสนเทศทางการวิจัยและการจัดการข้อมูล 3
รมรค๖๒๖ : การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงในงานวิจัยทางการแพทย์ 3
วจปป๖๖๗ : วิทยาการระบาดทางประชากร 3
วจปป๖๘๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ 3
วจปพ๖๓๙ : นโยบายสุขภาพโลก 3
สมสภ๖๐๔ : การวิจัยประเมินผลทางสุขภาพ 3
สมสภ๖๐๖ : จากการวิจัยสู่การปฏิบัติทางการพัฒนาสุขภาพ 3
สศชส๖๒๙ : ชีวสถิติขั้นสูงทางสาธารณสุข 3
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ 3
สศบส๖๗๘ : การจัดทำนโยบายสาธารณสุข ดำเนินการ และการประเมินผล 2
สศรบ๖๐๑ : แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการเกิดโรคในชุมชนเบื้องต้น 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
บฑปส๖๒๗ : ระบบการดูแลสุขภาพและการเงินการคลังนานาชาติ 2
ภกภส๖๙๔ : การวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลโดยใช้การทดลองทางคลินิกและการศึกษาแบบสังเกต 3
รมรค๖๒๖ : การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงในงานวิจัยทางการแพทย์ 3
วจปพ๖๓๙ : นโยบายสุขภาพโลก 3
สมสภ๖๐๖ : จากการวิจัยสู่การปฏิบัติทางการพัฒนาสุขภาพ 3
สศชส๖๒๙ : ชีวสถิติขั้นสูงทางสาธารณสุข 3
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ 3
สศบส๖๗๘ : การจัดทำนโยบายสาธารณสุข ดำเนินการ และการประเมินผล 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
บฑปส๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
บฑปส๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ อุษา ฉายเกล็ดแก้ว   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร
  3. รองศาสตราจารย์ อาทร ริ้วไพบูลย์
  4. รองศาสตราจารย์ ลือชัย ศรีเงินยวง
  5. รองศาสตราจารย์ มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์
  6. รองศาสตราจารย์ ณัฐณีย์ มีมนต์
  7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พจนา หันจางสิทธิ์
  8. รองศาสตราจารย์ Seung Chun Paek
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิตาพร ยังคง
  10. รองศาสตราจารย์ ภัทรวลัย ตลึงจิตร
  11. รองศาสตราจารย์ สุคนธา คงศีล
  12. รองศาสตราจารย์ วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ
  13. รองศาสตราจารย์ บวรศม ลีระพันธ์
  14. รองศาสตราจารย์ อรลักษณ์ พัฒนาประทีป
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กุลวัตร ธาดานิพนธ์