ผู้สนใจเข้าศึกษา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | โครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา |
เว็บไซต์ |
http://www.ihrp.mahidol.ac.th/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑.๑ สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา ๑.๒ คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด ๑.๓ ผู้มีประสบการณ์การทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและสันติภาพหรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องจะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ ๑.๔ ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ ๑.๒ ถึงข้อ ๑.๓ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน 2 แบบวิชาชีพ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 12 | หน่วยกิต | |
การค้นคว้าอิสระ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา
- นักวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา
- ผู้นำองค์กรภาครัฐและเอกชนที่ทำหน้าที่ในการกำหันดหรือส่งเสริมนโยบายเชิงสังคมต่าง ๆ
- กระบวนกร และผู้ปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชน สันติภาพ และการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง
- อาชีพอื่น ๆ เช่น พนักงานภาคธุรกิจเอกชนข้าราชการส่วนท้องถิ่นและในสังกัดกระทรวงต่าง ๆ ที่ รับผิดชอบประเด็นสังคม การเมือง การเมืองระหว่างประเทศ และสิ่งแวดล้อม ผู้สื่อข่าวสังคม การเมือง การเมืองระหว่างประเทศ และสิ่งแวดล้อม ที่มีความจำเป็นต้องใช้ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ ทั้งนี้ความรู้ในสาขาวิชาดังกล่าวสามารถนำมาปรับใช้ได้ทั้งในชีวิตประจำวันและในการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
มสสส๕๐๐ : แนวคิดและหลักการสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสส๕๐๒ : มาตรฐานและกลไกสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสส๕๐๔ : วิธีวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๒๘ : แนวคิดและทักษะพื้นฐานของการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง | 3 | ||
มสสส๕๓๐ : การสัมมนาเรื่องสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๓๕ : ทฤษฎีสันติภาพและความขัดแย้ง | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
มสสส๕๑๔ : ยุทธศาสตร์และทักษะในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสส๕๒๒ : ประชาสังคม ขบวนการทางสังคม กับความเป็นธรรมทางสังคม | 3 | ||
มสสส๕๒๓ : พลวัตความขัดแย้งและสิทธิมนุษยชนในสังคมร่วมสมัย | 3 | ||
มสสส๕๒๔ : มุมมองเฟมินิสต์และเพศสภาพในสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๒๕ : การเมืองเรื่องสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๒๖ : การสื่อสารเพื่อสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๒๙ : การศึกษาอิสระเรื่องสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๓๑ : สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา | 3 | ||
มสสส๕๓๒ : การศึกษาเพื่อสันติภาพและสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสส๕๓๓ : ความเป็นพลเมือง ประชาธิปไตย และความเป็นธรรม | 3 | ||
มสสส๕๓๔ : แนวคิดและทักษะเชิงปฏิบัติของสานเสวนา การเจรจาต่อรอง และการเป็นคนกลาง | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
มสสส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
มสสส๕๐๐ : แนวคิดและหลักการสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสส๕๐๒ : มาตรฐานและกลไกสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสส๕๐๔ : วิธีวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๒๘ : แนวคิดและทักษะพื้นฐานของการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง | 3 | ||
มสสส๕๓๐ : การสัมมนาเรื่องสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๓๕ : ทฤษฎีสันติภาพและความขัดแย้ง | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
มสสส๕๑๔ : ยุทธศาสตร์และทักษะในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสส๕๒๒ : ประชาสังคม ขบวนการทางสังคม กับความเป็นธรรมทางสังคม | 3 | ||
มสสส๕๒๓ : พลวัตความขัดแย้งและสิทธิมนุษยชนในสังคมร่วมสมัย | 3 | ||
มสสส๕๒๔ : มุมมองเฟมินิสต์และเพศสภาพในสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๒๕ : การเมืองเรื่องสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๒๖ : การสื่อสารเพื่อสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๒๙ : การศึกษาอิสระเรื่องสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ | 3 | ||
มสสส๕๓๑ : สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา | 3 | ||
มสสส๕๓๒ : การศึกษาเพื่อสันติภาพและสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสส๕๓๓ : ความเป็นพลเมือง ประชาธิปไตย และความเป็นธรรม | 3 | ||
มสสส๕๓๔ : แนวคิดและทักษะเชิงปฏิบัติของสานเสวนา การเจรจาต่อรอง และการเป็นคนกลาง | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
มสสส๖๙๖ : การค้นคว้าอิสระ | 6 |