เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันเสาร์ที่   27   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิทธิมนุษยชน (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน โครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา
เว็บไซต์ http://www.ihrp.mahidol.ac.th/

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สิทธิมนุษยชน)

จุดเด่นของหลักสูตร

หลักสูตรสิทธิมนุษยชนให้การศึกษาด้านทฤษฎี ระเบียบวิธีวิจัย และการศึกษาปัจจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ของประเทศไทย รวมทั้งในระดับภูมิภาค และระดับโลก ที่มีผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน อย่างเชื่อมโยง มีพลวัต และเป็นสหวิทยาการ เพื่อเสริมองค์ความรู้ด้านสิทธิ มนุษยชนอย่างเป็นระบบแก่ผู้เรียน ทั้งนี้หลักสูตรฯ เน้นการเสริมสร้างความเข้าใจและการวิเคราะห์ โครงสร้างบริบทสังคมไดทย และการนำมาตรฐานและกลไกสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับสากลและระดับชาติ มาใช้ในบริบทท้องถิ่น เพื่อเสริมการทำงานส่งเสริมสิทธิมนุษยชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และมี ความรู้ด้านศีลธรรมและจริยธรรมของวิชาชีพ อันจะนำไปสู่การพัฒนาประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนในมิติและบริบทต่างๆ ของสังคม นอกจากนี้หลักสูตรฯยังมุ่งเสริมทักษะปฎิบัติการและการวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้เรียนนำความรู้เชิงวิชาการ ไปประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงานสาขาต่างๆ เพื่อเสริมสิทธิมนุษยชนให้เกิดขึ้น และตั้งมั่น เข็มแข็งใน สังคม

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

1. Hold a bachelor's degree in any field from the Education Institute recognized by Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. 
2. Have a cumulative GPA not less than 2.50 or equivalent
3. Have an English Proficiency Examination score as the requirement of the Faculty of Graduate Studies.
4. Other qualifications from 2. and 3. may be considered by the Program Director and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Academics in the field of human rights;
2. Researchers in the field of human rights;
3. Experts in the field of human rights;
4. Officers in international, regional and local organizations in the field of human rights;
5. Leaders of non-governmental organization in human rights;
6. Practitioners in human rights and related works; and
7. Other occupations that need to apply knowledge related to human rights.

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
มสสม๕๐๔ : สิทธิมนุษยชนในเอเชีย 3
มสสม๕๐๕ : วิธีวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน 3
มสสม๕๐๖ : ทฤษฎีสิทธิมนุษยชน 3
มสสม๕๑๙ : บรรทัดฐานและกลไกทางสิทธิมนุษยชน 3
มสสม๕๒๐ : สัมมนาด้านสิทธิมนุษยชน 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
มสสม๕๑๐ : ทักษะเชิงปฏิบัติเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 3
มสสม๕๑๒ : สิทธิมนุษยชนทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3
มสสม๕๑๘ : การวิจัยเชิงประยุกต์ทางด้านสิทธิมนุษยชน 3
มสสม๕๒๑ : สันติภาพ การจัดการความขัดแย้ง และสิทธิมนุษยชน 3
มสสม๕๒๒ : การค้นคว้าอิสระ 3
มสสม๕๒๓ : การฝึกงาน 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
มสสม๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12