ผู้สนใจเข้าศึกษา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาประชาธิปไตย (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | โครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา |
เว็บไซต์ |
http://www.ihrp.mahidol.ac.th/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สิทธิมนุษยชนและการพัฒนาประชาธิปไตย)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
1. Holding a bachelor's degree in any field with cumulative GPA not less than 2.50 or equivalent from the higher education institutions that are accredited by the Higher Education Commission 2. Have and English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies 3. Candidates with experiences in human rights or related area will be given priority 4. Candidates with qualifications different from those in 2.2.2 and 2.2.3 may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies. The selection committee comprises of representatives from the Institute of Human Rights and Peace Studies and the four partner institutions.
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. Leaders or staff of non-governmental organizations in human rights and democracy; 2. Officers in regional and international organisations in the field of human rights and democracy; 3. Practitioners in human rights and related works; and 4. Other occupations who need to apply knowledge related to human rights and democracy in their work.
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
มสสป๕๔๑ : การวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาประชาธิปไตย | 3 | ||
มสสป๕๔๔ : สิทธิมนุษยชนและการพัฒนาประชาธิปไตยแบบเข้มข้น | 3 | ||
มสสป๕๕๔ : ทักษะปฏิบัติในการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสป๕๕๕ : แนวคิดสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาประชาธิปไตย | 3 | ||
มสสป๕๕๖ : บรรทัดฐานและกลไกทางสิทธิมนุษยชน | 3 | ||
มสสป๕๖๓ : ปฏิบัติการทางสิทธินุษยชนและการพัฒนาประชาธิปไตย | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
มสสป๕๕๗ : ประเด็นวิกฤตและประเด็นสิทธิมนุษยชนใหม่ในเนปาล | 3 | ||
มสสป๕๕๘ : ประเด็นวิกฤตและประเด็นสิทธิมนุษยชนใหม่ในศรีลังกา | 3 | ||
มสสป๕๕๙ : ประเด็นวิกฤตและประเด็นสิทธิมนุษยชนใหม่ในอินโดนีเซีย | 3 | ||
มสสป๕๖๐ : ประเด็นวิกฤตและประเด็นสิทธิมนุษยชนใหม่ในฟิลิปปินส์ | 3 | ||
มสสป๕๖๑ : บรรทัดฐานและกลไกทางสิทธิมนุษยชนในระดับภูมิภาคเอเชียใต้และระดับประเทศ | 3 | ||
มสสป๕๖๒ : บรรทัดฐานและกลไกทางสิทธิมนุษยชนในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และระดับประเทศ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
มสสป๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ สุภาสเมต ยุนยะสิทธิ์ (ประธานหลักสูตร)
- รองศาสตราจารย์ สุชาดา ทวีสิทธิ์
- อาจารย์ ณัฐนารี โพธิ์ศรีทอง
- ศาสตราจารย์ Sampath Punchihewa
- ศาสตราจารย์ Amparita Sta. Maria
- ศาสตราจารย์ Geeta Pathak Sangroula
- ศาสตราจารย์ Kapil Shrestha
- ศาสตราจารย์ Purwo Santoso
- ศาสตราจารย์ Sedfrey M.Candelaria
- รองศาสตราจารย์ Maria Lourdes Veneracion-Rallonza
- รองศาสตราจารย์ Amalinda Savirani
- อาจารย์ Kalana Senaratne
- ศาสตราจารย์ Kokila Lankathilake Konasinghe
- ศาสตราจารย์ Naazima Kamardeen
- ศาสตราจารย์ Yubaraj Sangroula
- รองศาสตราจารย์ Ryan Jeremiah D. Quan
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Diana J.Mendoza
- อาจารย์ Michael George Hayes
- อาจารย์ Sri Wiyanti Eddyono
- ศาสตราจารย์ Neloufer de mel
- รองศาสตราจารย์ Abdul Gaffar Karim
- อาจารย์ Poppy Sulistyaning Winanti
- อาจารย์ Wawan Mas udi
- อาจารย์ มาร์ค คาปาลดี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Yanuar Sumarlan
- รองศาสตราจารย์ Jose Jowel Canuday
- ศาสตราจารย์ Delpechitraacharige Gajabahu Harendra De Silva
- ศาสตราจารย์ Wasantha Seneviratne
- รองศาสตราจารย์ Coeli Barry
- อาจารย์ เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว
- ศาสตราจารย์ Antonio Gabriel M.La Vina
- รองศาสตราจารย์ ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ
- ศาสตราจารย์ Gebriel LeLe
- อาจารย์ Nanang Indra Kurniawan
- อาจารย์ Nishara Fernanado
- อาจารย์ Novi Kurnia
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นภารัตน์ กรรณรัตนสูตร