เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   1   พฤษภาคม   พ.ศ. 2568

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน สถาบันโภชนาการ
เว็บไซต์ https://inmu.mahidol.ac.th/

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 1.1 (research only) applicants
1) Holding a Master's degree in Nutrition, Food and Nutrition, Food Science, Food Technology, Biological Sciences, Biomedical Sciences.
2) Having cumulative GPA not less than 3.50.
3) Have and English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies.
4) Have at least 2 years of technical work experience related to food and nutrition.
5) Have at least 1 publication published or accepted for publication, as the first author or corresponding author, in a peer-reviewed international journal.
6) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies
7) Qualifications different from 2), 3) and 6) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

2 Plan 2.1 (coursework and research) applicants
1) Holding a Master's degree in Nutrition, Food and Nutrition, Food Science, Food Technology, Biological Sciences, Biomedical Sciences.
2) Having cumulative GPA not less than 3.50.
3) Have and English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies.
4)  Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies
5) Qualifications different from 2) - 4) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

โครงสร้างหลักสูตร

แผน 1.1 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แผน 2.1 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Researchers in academic institutions, research facilities, and public and private agencies related to food, nutrition, health and well-being research
2. Specialists or knowledge transfer specialists in higher education institutions providing educational programs related to food, nutrition, health and well-being
3. Academics in public agencies governing food and nutrition policy and regulatory affairs
4. Experts in international organizations and non-governmental agencies related to food and nutrition
5. Executives or entrepreneurs in functional food and medical food-related business

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สภอส๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
สภอส๕๐๑ : ชีวสถิติประยุกต์เพื่อการวิจัยด้านอาหารและโภชนาการ 2
สภอส๕๐๒ : หลักการวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการสำหรับอาหารสุขภาพ 2
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สภอส๖๐๑ : บูรณาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ 3
สภอส๖๐๒ : ประเด็นอุบัติใหม่ทางจริยธรรมการวิจัยด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ 1
สภอส๖๐๓ : สัมมนาด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ ๑ 1
สภอส๖๐๔ : สัมมนาด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ ๒ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สภอส๖๒๑ : กฎระเบียบการขึ้นทะเบียนและกล่าวอ้างทางสุขภาพสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ 2
สภอส๖๒๒ : การตลาด การสื่อสาร และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและโภชนาการ 2
สภอส๖๒๓ : นวัตกรรมและอาหารสุขภาพเพื่อโภชนาการรายบุคคล 2
สภอส๖๒๔ : หัวข้ออุบัติใหม่ทางวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ 2
สภอส๖๒๕ : โอมิกส์เทคโนโลยีและชีวสารสนเทศด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ 3
สภอส๖๒๖ : เทคนิคการวิเคราะห์ขั้นสูงสำหรับอาหารสุขภาพ 3
สภอส๖๒๗ : นโยบายด้านโภชนาการสาธารณสุขและการนำไปปฏิบัติ 2
สภอส๖๒๘ : แบบจำลองทางชีวภาพสำหรับการศึกษาด้านโภชนาการและสุขภาพ 3
สภอส๖๒๙ : วิธีการทางระบาดวิทยาด้านอาหารและโภชนาการ 2
สภอส๖๓๐ : ประสบการณ์วิชาชีพในการออกแบบนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ 2
สภอส๖๓๑ : ประสบการณ์เรียนรู้วิจัยด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพและสุขภาวะ 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สภอส๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ชลัท ศานติวรางคณา   (ประธานหลักสูตร)
  2. อาจารย์ อารีย์ ประจันสุวรรณ
  3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวัลพัชร เมืองน้อย
  4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุวภัทร กิตติบัญชากุล
  5. รองศาสตราจารย์ วรงค์ศิริ เข็มสวัสดิ์
  6. รองศาสตราจารย์ ชนิพรรณ บุตรยี่
  7. รองศาสตราจารย์ พรรัตน์ สินชัยพานิช
  8. รองศาสตราจารย์ วันทนีย์ เกรียงสินยศ
  9. อาจารย์ Nilesh Pakash Nirmal
  10. อาจารย์ สืบพงษ์ กอวชิรพันธ์
  11. รองศาสตราจารย์ ครรชิต จุดประสงค์
  12. อาจารย์ ปรารถนา ตปนีย์
  13. รองศาสตราจารย์ นัฐพล ตั้งสุภูมิ
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรัญรัชต์ ธนวิยุทธ์ภัคดี
  15. รองศาสตราจารย์ เอกราช เกตวัลห์
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ
  17. อาจารย์ ณชล แร่ทอง
  18. อาจารย์ ศรัณยา กิจดำรงธรรม
  19. อาจารย์ เพ็ญภพ พันธุ์เสือ
  20. รองศาสตราจารย์ อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข
  21. รองศาสตราจารย์ ณัฐิรา อ่อนน้อม
  22. รองศาสตราจารย์ รุ่งทิวา วงศกรทรัพย์
  23. รองศาสตราจารย์ วรางคณา ศรีจำนงค์
  24. รองศาสตราจารย์ เชาวนี ชูพีรัชน์
  25. รองศาสตราจารย์ อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์
  26. อาจารย์ Simab Kanwal
  27. อาจารย์ Sabri Bromage
  28. รองศาสตราจารย์ มลฤดี สุขประสารทรัพย์
  29. รองศาสตราจารย์ ธัญญ์นลิน วิญญูประสิทธิ์
  30. รองศาสตราจารย์ ยุราพร สหัสกุล
  31. รองศาสตราจารย์ ดุลยพร ตราชูธรรม