ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพิษวิทยาและโภชนาการเพื่ออาหารปลอดภัย (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | สถาบันโภชนาการ |
เว็บไซต์ |
http://www.inmu2.mahidol.ac.th/foodsafety/?p=138374 |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(พิษวิทยาและโภชนาการเพื่ออาหารปลอดภัย)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ก แบบ ก๒ (๑) ผู้ที่สำเร็จการศึกษาแล้ว หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาในระดับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพ ในสาขาที่มีการศึกษาวิชาอินทรีย์เคมี หรือชีวเคมีหรือสรีรวิทยา อย่างน้อย ๒ หน่วยกิต จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรองทั้งในประเทศและต่างประเทศ (๒) ต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลกรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) ผู้สมัครที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากข้อ (๒) ถึงข้อ (๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาได้เป็นการเฉพาะราย ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย แผน ข (๑) ผู้ที่สำเร็จการศึกษาแล้วในระดับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพ ในสาขาที่มีการศึกษาวิชาอินทรีย์เคมี หรือชีวเคมีหรือสรีรวิทยา อย่างน้อย ๒ หน่วยกิต จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรองทั้งในประเทศและต่างประเทศ (๒) ต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลกรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) มีประสบการณ์ทำงานด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร พิษวิทยา โภชนาการหรือวิทยาศาสตร์สุขภาพ อย่างน้อย ๒ ปี (๕) ผู้สมัครที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากข้อ (๒) ถึงข้อ (๔) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาได้เป็นการเฉพาะราย ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 22 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 2 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 22 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 8 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิชาการด้านพิษวิทยาและโภชนาการเพื่ออาหารปลอดภัย ในหน่วยงานภาครัฐและอุตสาหกรรมอาหาร
- นักวิจัยด้านพิษวิทยาและโภชนาการเพื่ออาหารปลอดภัย ในสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
สภพป๕๐๒ : หลักการทางชีวเคมีและสรีรวิทยา | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สภพป๖๐๔ : โภชนาการกับพิษวิทยา | 3 | ||
สภพป๖๒๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางพิษวิทยาอาหารและโภชนาการ | 3 | ||
สภพป๖๒๖ : หลักการทางพิษวิทยาและอาหารปลอดภัย | 3 | ||
สภพป๖๒๗ : การทดสอบด้านพิษวิทยาโดยมาตรฐานควบคุมเพื่ออาหารปลอดภัย | 3 | ||
สภพป๖๒๘ : อันตรายในอาหารและผลกระทบต่อสุขภาพ | 3 | ||
สภพป๖๒๙ : ความเสี่ยงต่อสุขภาพของการได้รับสารอาหารเกิน และการควบคุมทางกฎหมาย | 3 | ||
สภพป๖๓๐ : การวิเคราะห์ความเสี่ยงความปลอดภัยทางอาหาร | 3 | ||
สภพป๖๔๑ : สัมมนาทางพิษวิทยาและโภชนาการเพื่ออาหารปลอดภัย | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สปภป๖๔๐ : เทคนิคทางห้องปฏิบัติการทางพิษวิทยาระดับโมเลกุล | 3 | ||
สภพป๖๑๑ : การคุ้มครองผู้บริโภคทางอาหารและโภชนาการ | 2 | ||
สภพป๖๑๔ : ความเป็นพิษของอาหาร พืชและเนื้อสัตว์ | 2 | ||
สภพป๖๓๑ : สารอาหารรองและอาหารสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง | 2 | ||
สภพป๖๓๒ : เทคนิคการวิเคราะห์ทางพิษวิทยาอาหารและโภชนาการ | 3 | ||
สภพป๖๓๕ : เทคนิคทางพิษวิทยาเชิงพันธุศาสตร์โดยใช้การทดสอบระยะสั้น | 2 | ||
สภพป๖๓๗ : ความปลอดภัยทางอาหารที่เกี่ยวกับสารก่อกลายพันธุ์ สารก่อมะเร็ง และสารก่อภูมิแพ้ | 3 | ||
สภพป๖๓๘ : กระบวนการแปรรูปที่เหนี่ยวนำให้เกิดสารพิษในอาหาร | 2 | ||
สภพป๖๓๙ : ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการระดับสากลตามมาตรฐานไอเอสโอ/ไออีซี ๑๗๐๒๕ | 3 | ||
สภพป๖๔๒ : จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญทางอาหารปลอดภัยและการควบคุมคุณภาพทางห้องปฎิบัติการจุลชีววิทยาอาหาร | 2 | ||
สภพป๖๔๓ : การประเมินความเสี่ยงของอันตรายทางเคมีและการกำหนดมาตรฐานอาหารปลอดภัย | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สภพป๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
สภพป๕๐๒ : หลักการทางชีวเคมีและสรีรวิทยา | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สภพป๖๐๔ : โภชนาการกับพิษวิทยา | 3 | ||
สภพป๖๒๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางพิษวิทยาอาหารและโภชนาการ | 3 | ||
สภพป๖๒๖ : หลักการทางพิษวิทยาและอาหารปลอดภัย | 3 | ||
สภพป๖๒๗ : การทดสอบด้านพิษวิทยาโดยมาตรฐานควบคุมเพื่ออาหารปลอดภัย | 3 | ||
สภพป๖๒๘ : อันตรายในอาหารและผลกระทบต่อสุขภาพ | 3 | ||
สภพป๖๒๙ : ความเสี่ยงต่อสุขภาพของการได้รับสารอาหารเกิน และการควบคุมทางกฎหมาย | 3 | ||
สภพป๖๓๐ : การวิเคราะห์ความเสี่ยงความปลอดภัยทางอาหาร | 3 | ||
สภพป๖๔๑ : สัมมนาทางพิษวิทยาและโภชนาการเพื่ออาหารปลอดภัย | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สปภป๖๔๐ : เทคนิคทางห้องปฏิบัติการทางพิษวิทยาระดับโมเลกุล | 3 | ||
สภพป๖๑๑ : การคุ้มครองผู้บริโภคทางอาหารและโภชนาการ | 2 | ||
สภพป๖๑๔ : ความเป็นพิษของอาหาร พืชและเนื้อสัตว์ | 2 | ||
สภพป๖๓๑ : สารอาหารรองและอาหารสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง | 2 | ||
สภพป๖๓๒ : เทคนิคการวิเคราะห์ทางพิษวิทยาอาหารและโภชนาการ | 3 | ||
สภพป๖๓๕ : เทคนิคทางพิษวิทยาเชิงพันธุศาสตร์โดยใช้การทดสอบระยะสั้น | 2 | ||
สภพป๖๓๗ : ความปลอดภัยทางอาหารที่เกี่ยวกับสารก่อกลายพันธุ์ สารก่อมะเร็ง และสารก่อภูมิแพ้ | 3 | ||
สภพป๖๓๘ : กระบวนการแปรรูปที่เหนี่ยวนำให้เกิดสารพิษในอาหาร | 2 | ||
สภพป๖๓๙ : ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการระดับสากลตามมาตรฐานไอเอสโอ/ไออีซี ๑๗๐๒๕ | 3 | ||
สภพป๖๔๒ : จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญทางอาหารปลอดภัยและการควบคุมคุณภาพทางห้องปฎิบัติการจุลชีววิทยาอาหาร | 2 | ||
สภพป๖๔๓ : การประเมินความเสี่ยงของอันตรายทางเคมีและการกำหนดมาตรฐานอาหารปลอดภัย | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สภพป๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ ชนิพรรณ บุตรยี่ (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวัลพัชร เมืองน้อย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุวภัทร กิตติบัญชากุล
- รองศาสตราจารย์ วรงค์ศิริ เข็มสวัสดิ์
- รองศาสตราจารย์ ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไอยฤทธิ์ ไทยพิสุทธิกุล
- รองศาสตราจารย์ ครรชิต จุดประสงค์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรัญรัชต์ ธนวิยุทธ์ภัคดี
- รองศาสตราจารย์ เอกราช เกตวัลห์
- อาจารย์ ณชล แร่ทอง
- อาจารย์ ศรัณยา กิจดำรงธรรม
- อาจารย์ เพ็ญภพ พันธุ์เสือ
- รองศาสตราจารย์ ณัฐิรา อ่อนน้อม
- รองศาสตราจารย์ ชลัท ศานติวรางคณา
- รองศาสตราจารย์ วรางคณา ศรีจำนงค์
- รองศาสตราจารย์ เชาวนี ชูพีรัชน์
- รองศาสตราจารย์ อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์
- รองศาสตราจารย์ มลฤดี สุขประสารทรัพย์
- อาจารย์ สรวงสุดา สุภาสัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รจนา ชุณหบัณฑิต
- รองศาสตราจารย์ บุญรัตน์ จันทร์ทอง
- รองศาสตราจารย์ จินตนา ศิริวราศัย
- รองศาสตราจารย์ ธัญญ์นลิน วิญญูประสิทธิ์
- รองศาสตราจารย์ ยุราพร สหัสกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรพจน์ เปรมโยธิน
- รองศาสตราจารย์ ดุลยพร ตราชูธรรม
- รองศาสตราจารย์ ปิยะ เต็มวิริยะนุกูล