เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   28   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพหุวัฒนธรรมศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
เว็บไซต์ http://www.lc.mahidol.ac.th/en/Program/PhdMulticultural.htm

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(พหุวัฒนธรรมศึกษา)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 1 Research Only
Plan 1.1 For students with Master's Degree 
(1) The applicants must possess a master's degree in any field of Social Science or Humanities from colleges or universities accredited by the Office of the Higher Education Commission.
(2) The GPA must be at least 3.50.
(3) English proficiency test score achieves the criteria set by the faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
(4) The applicants must be the first author of research articles in multicultural studies published in internationally recognized academic peer review journals at least one publication within the last 5 years.
(5) Applicants who have qualifications that do not meet the above criteria (2) - (4) may be considered for admission by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

Plan 2 Coursework and Research
Plan 2.1 For students with Master's Degree 
(1) The applicants must possess a master's degree in any field of Social Science or Humanities from colleges or universities accredited by the Office of the Higher Education Commission.
(2) The GPA must be at least 3.50.
(3) English proficiency test score achieves the criteria set by the faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
(4) Applicants who have qualifications that do not meet the above criteria (2) - (3) may be considered for admission by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

Plan 2.2 For students with Bachelor's Degree 
(1) The applicants must possess a bachelor's degree in any field of Social Science or Humanities from colleges or universities accredited by the Office of the Higher Education Commission.
(2) The GPA must be at least 3.50 
(3) Have English proficiency language test result meets the criteria set by the faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
(4) Applicants who have qualifications that do not meet the above criteria (2) - (3) may be considered for admission by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
Students may register courses with no-credit according to the students' interest with approval of the advisor and dissertation 48 credits, total not less than 48 credits.
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 12            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1.  Expert in multicultural studies
2.  Researcher in cultural diversity
3.  Academic in multicultural studies
4.  Multicultural policy analyst
5.  Multicultural Policy consultant 
6.  Practioner in governmental, non-governmental and international organizations promoting multiculturalism

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วภพศ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วภพศ๖๐๑ : แนวคิด ทฤษฎีหลักด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๓ : สัมมนาประเด็นร่วมสมัยด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๔ : การสร้างกรอบความคิดการวิจัยด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วภพศ๖๐๑ : แนวคิด ทฤษฎีหลักด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๓ : สัมมนาประเด็นร่วมสมัยด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วภพศ๖๑๐ : พหุวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลังยุคอาณานิคม 3
วภพศ๖๑๑ : การข้ามชาติ การอพยพโยกย้าย และการพลัดถิ่นในเอเชีย 3
วภพศ๖๑๔ : พหุวัฒนธรรมกับการศึกษา 3
วภพศ๖๑๙ : การศึกษาประเด็นเฉพาะ 3
วภพศ๖๒๐ : การเมืองของสิทธิทางวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3
วภพศ๖๒๓ : ภาษา อำนาจ และอัตลักษณ์ 3
วภพศ๖๒๔ : พลวัตทางวัฒนธรรมกับความหลากหลายในสังคมเมือง 3
วภพศ๖๒๕ : มรดกวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์ และการท่องเที่ยวกับพหุวัฒนธรรมเอเชีย 3
วภพศ๖๒๗ : อาหาร โลกาภิวัตน์ และการเมืองของวัฒนธรรม 3
วภพศ๖๒๘ : การพัฒนาที่ยั่งยืนกับสังคมพหุวัฒนธรรมในเอเชีย 3
วภพศ๖๒๙ : สื่อใหม่กับพหุวัฒนธรรมเอเชีย 3
วภพศ๖๓๐ : ชาติพันธุ์และอัตลักษณ์ในสังคมเอเชียร่วมสมัย 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วภพศ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วภพศ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ฐิติมดี อาพัทธนานนท์   (ประธานหลักสูตร)
  2. รองศาสตราจารย์ ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์
  3. รองศาสตราจารย์ นันทิยา ดวงภุมเมศ
  4. รองศาสตราจารย์ โสภนา ศรีจำปา
  5. รองศาสตราจารย์ สิงหนาท น้อมเนียน
  6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมรักษ์ ชัยสิงห์กานานนท์
  7. รองศาสตราจารย์ อริศรา เล็กสรรเสริญ
  8. รองศาสตราจารย์ มรกต ไมยเออร์
  9. รองศาสตราจารย์ ศิริจิต สุนันต๊ะ
  10. รองศาสตราจารย์ วรรณพร เตชะไกศิยวณิช
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปัทมา พัฒน์พงษ์
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุมิตรา สุรรัตน์เดชา
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรญาณ์ เตชะวงค์เสถียร
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิกานดา พรหมขุนทอง
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุรัสกร โตรัตน์
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณรงค์ อาจสมิติ
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภัทรียา กิจเจริญ
  18. รองศาสตราจารย์ วัชรพล วิบูลยศริน
  19. รองศาสตราจารย์ สุดารัตน์ มุสิกะวงศ์
  20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณรงเดช พันธะพุมมี
  21. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โสวริทธิ์ธร จันทร์แสงศรี
  22. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อธิป ธรรมวิจิตร
  23. อาจารย์ นันทมนต์ กู้ตลาด