ผู้สนใจเข้าศึกษา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย |
เว็บไซต์ |
http://www.lc.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม)
วิชาเอก
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ก แบบ ก ๒ และแผน ข (๑) เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษา หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาในหลักสูตร ปริญญาตรีทุกสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กำหนด (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก เข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาแกน | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 6 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาแกน | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 6 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 15 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักแปล
- ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษา
- ผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
- นักวิเคราะห์และวางกลยุทธ์การสื่อสาร
- นักบริหาร นักพัฒนา
- นักประชาสัมพันธ์ นักสื่อสารองค์การ
- นักวิจัย นักวิชาการ ที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วภสว๕๐๑ : สารัตถะของวิธีวิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
วภสว๕๐๒ : ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | 2 | ||
วภสว๕๐๓ : พฤติกรรมองค์การและการบริหาร | 2 | ||
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
วภสว๕๐๕ : ทฤษฎีการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | 2 | ||
วภสว๕๐๖ : การวิเคราะห์ภาษาเพื่อการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | 2 | ||
วภสว๕๐๗ : การออกแบบและปฏิบัติการวิจัย | 3 | ||
วภสว๕๐๘ : สัมมนาทางภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกการสอนภาษา | |||
วภสว๕๑๐ : วิธีการสอนภาษาต่างประเทศ | 3 | ||
วภสว๕๑๑ : การออกแบบรายวิชาและพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนการสอนภาษา | 3 | ||
วิชาเอกการแปล | |||
วภสว๕๒๐ : ทฤษฎีและหลักสำหรับนักแปลอาชีพ | 3 | ||
วภสว๕๒๑ : วัจนปฏิบัติศาสตร์กับการแปล | 3 | ||
วิชาเอกการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเพื่อการบริหาร | |||
วภสว๕๓๐ : สมรรถนะทางวัฒนธรรมของผู้นำ | 3 | ||
วภสว๕๓๑ : การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเชิงกลยุทธ์ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วภสว๕๕๐ : ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย | 3 | ||
วภสว๕๕๑ : การศึกษาอิสระ | 3 | ||
วิชาเอกการสอนภาษา | |||
วภสว๕๑๒ : การสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ | 3 | ||
วภสว๕๑๓ : ภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ | 3 | ||
วภสว๕๑๔ : ภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ | 3 | ||
วภสว๕๑๕ : สัมมนาทางวิธีการสอนภาษาต่างประเทศในบริบทพหุวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสว๕๑๖ : การประเมินผลการเรียนรู้ภาษา | 3 | ||
วภสว๕๑๗ : ความเป็นผู้ประกอบการด้านการสอนภาษา | 3 | ||
วภสว๖๑๐ : การฝึกสอน | 3 | ||
วิชาเอกการแปล | |||
วภสว๕๒๒ : สัมมนาทางการแปล | 3 | ||
วภสว๕๒๓ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยในการแปล | 3 | ||
วภสว๕๒๔ : ภาษาไทยสำหรับนักแปล | 3 | ||
วภสว๖๒๐ : การแปลเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ | 3 | ||
วภสว๖๒๑ : การแปลข่าว | 3 | ||
วภสว๖๒๒ : การแปลด้านธุรกิจ | 3 | ||
วภสว๖๒๓ : การแปลด้านกฎหมาย | 3 | ||
วภสว๖๒๔ : การแปลวรรณกรรม | 3 | ||
วภสว๖๒๕ : การแปลงานด้านวิชาการ | 3 | ||
วภสว๖๒๖ : การแปลบทภาพยนตร์ | 3 | ||
วภสว๖๒๗ : การแปลเชิงปฏิบัติ ภาษาญี่ปุ่น | 3 | ||
วภสว๖๒๘ : ภาษาญี่ปุ่นขั้นสูงเพื่อการแปล ๑ | 3 | ||
วภสว๖๒๙ : ภาษาญี่ปุ่นขั้นสูงเพื่อการแปล ๒ | 3 | ||
วิชาเอกการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเพื่อการบริหาร | |||
วภสว๕๓๒ : สัมมนาทางการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเพื่อการบริหาร | 3 | ||
วภสว๕๓๓ : การสื่อสารในสังคมผสมผสาน | 3 | ||
วภสว๕๓๔ : กลยุทธ์การสื่อสารสุขภาพ | 3 | ||
วภสว๕๓๕ : สื่อกับวัฒนธรรมออนไลน์ | 3 | ||
วภสว๕๓๖ : สัญวิทยาทางการวิเคราะห์การสื่อสารและวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสว๕๓๗ : จิตวิทยาการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสว๕๓๘ : การจัดการทุนทางวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสว๕๓๙ : ปรัชญาตะวันออกกับการบริหารองค์การ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วภสว๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วภสว๕๐๑ : สารัตถะของวิธีวิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
วภสว๕๐๒ : ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | 2 | ||
วภสว๕๐๓ : พฤติกรรมองค์การและการบริหาร | 2 | ||
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
วภสว๕๐๕ : ทฤษฎีการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | 2 | ||
วภสว๕๐๖ : การวิเคราะห์ภาษาเพื่อการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | 2 | ||
วภสว๕๐๗ : การออกแบบและปฏิบัติการวิจัย | 3 | ||
วภสว๕๐๘ : สัมมนาทางภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกการสอนภาษา | |||
วภสว๕๑๐ : วิธีการสอนภาษาต่างประเทศ | 3 | ||
วภสว๕๑๑ : การออกแบบรายวิชาและพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนการสอนภาษา | 3 | ||
วิชาเอกการแปล | |||
วภสว๕๒๐ : ทฤษฎีและหลักสำหรับนักแปลอาชีพ | 3 | ||
วภสว๕๒๑ : วัจนปฏิบัติศาสตร์กับการแปล | 3 | ||
วิชาเอกการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเพื่อการบริหาร | |||
วภสว๕๓๐ : สมรรถนะทางวัฒนธรรมของผู้นำ | 3 | ||
วภสว๕๓๑ : การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเชิงกลยุทธ์ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วภสว๕๕๐ : ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย | 3 | ||
วภสว๕๕๑ : การศึกษาอิสระ | 3 | ||
วิชาเอกการสอนภาษา | |||
วภสว๕๑๒ : การสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ | 3 | ||
วภสว๕๑๓ : ภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ | 3 | ||
วภสว๕๑๔ : ภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ | 3 | ||
วภสว๕๑๕ : สัมมนาทางวิธีการสอนภาษาต่างประเทศในบริบทพหุวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสว๕๑๖ : การประเมินผลการเรียนรู้ภาษา | 3 | ||
วภสว๕๑๗ : ความเป็นผู้ประกอบการด้านการสอนภาษา | 3 | ||
วภสว๖๑๐ : การฝึกสอน | 3 | ||
วิชาเอกการแปล | |||
วภสว๕๒๒ : สัมมนาทางการแปล | 3 | ||
วภสว๕๒๓ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยในการแปล | 3 | ||
วภสว๕๒๔ : ภาษาไทยสำหรับนักแปล | 3 | ||
วภสว๖๒๐ : การแปลเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ | 3 | ||
วภสว๖๒๑ : การแปลข่าว | 3 | ||
วภสว๖๒๒ : การแปลด้านธุรกิจ | 3 | ||
วภสว๖๒๓ : การแปลด้านกฎหมาย | 3 | ||
วภสว๖๒๔ : การแปลวรรณกรรม | 3 | ||
วภสว๖๒๕ : การแปลงานด้านวิชาการ | 3 | ||
วภสว๖๒๖ : การแปลบทภาพยนตร์ | 3 | ||
วภสว๖๒๗ : การแปลเชิงปฏิบัติ ภาษาญี่ปุ่น | 3 | ||
วภสว๖๒๘ : ภาษาญี่ปุ่นขั้นสูงเพื่อการแปล ๑ | 3 | ||
วภสว๖๒๙ : ภาษาญี่ปุ่นขั้นสูงเพื่อการแปล ๒ | 3 | ||
วิชาเอกการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเพื่อการบริหาร | |||
วภสว๕๓๒ : สัมมนาทางการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเพื่อการบริหาร | 3 | ||
วภสว๕๓๓ : การสื่อสารในสังคมผสมผสาน | 3 | ||
วภสว๕๓๔ : กลยุทธ์การสื่อสารสุขภาพ | 3 | ||
วภสว๕๓๕ : สื่อกับวัฒนธรรมออนไลน์ | 3 | ||
วภสว๕๓๖ : สัญวิทยาทางการวิเคราะห์การสื่อสารและวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสว๕๓๗ : จิตวิทยาการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสว๕๓๘ : การจัดการทุนทางวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสว๕๓๙ : ปรัชญาตะวันออกกับการบริหารองค์การ | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วภสว๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธีรพงษ์ บุญรักษา (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณรงเดช พันธะพุมมี
- รองศาสตราจารย์ วัชรพล วิบูลยศริน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อธิป ธรรมวิจิตร
- รองศาสตราจารย์ ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์
- อาจารย์ สิรินทร พิบูลภานุวัธน์
- รองศาสตราจารย์ สิงหนาท น้อมเนียน
- รองศาสตราจารย์ นันทิยา ดวงภุมเมศ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุมิตรา สุรรัตน์เดชา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรญาณ์ เตชะวงค์เสถียร