ผู้สนใจเข้าศึกษา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย |
เว็บไซต์ |
http://www.lc.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา)
จุดเด่นของหลักสูตร
เน้นศึกษาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อสามารถนำความรู้ทางด้านภาษา วัฒนธรรมและการสื่อสารไป
ใช้ในการประกอบวิชาขีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ก แบบ ก ๒ ๑. เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษา หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายในหลักสูตรปริญญาตรีทุกสาขา วิชา ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ๓. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า ศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ข ๑. เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษา หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายในหลักสูตรปริญญาตรีทุกสาขา วิชา ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ๓. มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า ๓ ปี ๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า ศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
วิทยานิพนธ์ | |||
หมวดวิชาแกน | 9 | หน่วยกิต | |
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาแกน | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาบังคับ | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 12 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักประชาสัมพันธ์
- นักสื่อสารมวลชน
- นักสื่อสาร
- นักแปล
- นักบริหาร
- ผู้เชี่ยวชาญในด้านการสอนภาษา
- นักทรัพยากรบุคคล
- นักวิชาการทางด้านภาษา วัฒนธรรมและการสื่อสาร
- นักวิจัย
- นักพัฒนา
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
วภสพ๕๐๑ : แนวคิดและทฤษฎีการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๕๐๕ : ภาษาในบริบททางสังคม | 3 | ||
วภสพ๕๐๖ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกการสอนภาษา | |||
วภสพ๕๑๗ : วิธีการสอนภาษาต่างประเทศ | 3 | ||
วภสพ๕๑๘ : การออกแบบรายวิชาและการพัฒนาสื่อการสอนภาษา | 3 | ||
วภสพ๖๑๓ : สัมมนา: วิธีการสอนภาษา | 3 | ||
วิชาเอกภาษาเพื่อการสื่อสาร | |||
วภสพ๕๒๔ : การวิเคราะห์ภาษาเพื่อการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๖๒๐ : จิตวิทยาการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๖๒๓ : สัมมนา: การสื่อสารเพื่อการพัฒนา | 3 | ||
วิชาเอกการแปล | |||
วภสพ๕๓๐ : ทฤษฎีและหลักสำหรับนักแปลอาชีพ | 3 | ||
วภสพ๖๓๓ : สัมมนา: การแปล | 3 | ||
วภสพ๖๓๕ : วัจนปฏิบัติศาสตร์กับการแปล | 3 | ||
วิชาเอกภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการบริหารองค์การ | |||
วภสพ๕๔๑ : ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการบริหารองค์กร | 3 | ||
วภสพ๕๔๔ : การสื่อสารองค์การ | 3 | ||
วภสพ๖๔๓ : สัมมนา: ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการบริหารองค์การ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วพสพ๕๑๕ : การรับภาษาที่สอง | 3 | ||
วภสพ๕๒๓ : บทบาทของสื่อมวลชนในสังคมไทย | 3 | ||
วภสพ๕๓๓ : การแปลเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ | 3 | ||
วภสพ๕๓๕ : ภาวะทวิภาษากับการแปล | 3 | ||
วภสพ๕๔๕ : ภาวะผู้นำ ภาษา และวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสพ๕๗๓ : การศึกษาสื่อพื้นบ้าน | 3 | ||
วภสพ๕๗๔ : การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ | 3 | ||
วภสพ๕๗๖ : ภาษาเพื่อการประชาสัมพันธ์ | 3 | ||
วภสพ๕๗๗ : ภาษาในข่าว | 3 | ||
วภสพ๕๗๙ : ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๕๘๒ : การแปลเพื่อการประชาสัมพันธ์ | 3 | ||
วภสพ๕๘๔ : ระบบสัญลักษณ์ในสังคม | 3 | ||
วภสพ๕๘๖ : ภาษาอังกฤษในข่าว | 3 | ||
วภสพ๕๘๗ : การผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์ | 3 | ||
วภสพ๕๘๘ : การแปลเพื่อการประชาสัมพันธ์ | 3 | ||
วภสพ๕๘๙ : พัฒนาการของการแปลในประเทศไทย: การศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสพ๕๙๐ : การแปลด้านกฎหมาย | 3 | ||
วภสพ๕๙๑ : การแปลข่าว | 3 | ||
วภสพ๖๑๔ : ภาษาอังกฤษในฐานะภาษานานาชาติ | 3 | ||
วภสพ๖๒๕ : เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๖๔๑ : การศึกษาพฤติกรรมในองค์กร | 3 | ||
วภสพ๖๗๐ : การสอนภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ | 3 | ||
วภสพ๖๗๑ : จรรยาบรรณและกฎหมายที่ควรรู้ในวิชาชีพ | 3 | ||
วภสพ๖๗๗ : การศึกษาอิสระ | 3 | ||
วภสพ๖๗๘ : การรู้เท่าทันสื่อ | 3 | ||
วภสพ๖๗๙ : การจัดการธุรกิจชุมชน | 3 | ||
วภสพ๖๘๑ : การแปลวรรณกรรม | 3 | ||
วภสพ๖๘๔ : การจัดการข้ามวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสพ๖๘๕ : การจัดการการเงิน | 3 | ||
วภสพ๖๘๖ : การจัดการการตลาด | 3 | ||
วภสพ๖๘๗ : การแปลสารคดีและบันเทิงคดี | 3 | ||
วภสพ๖๘๘ : การแปลภาพยนตร์ | 3 | ||
วภสพ๖๘๙ : จิตวิทยาองค์การ | 3 | ||
วภสพ๖๙๐ : อัตลักษณ์และการเรียนการสอนภาษา | 3 | ||
วภสพ๖๙๑ : การแปลงานด้านวิชาการ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วภสพ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
วภสพ๕๐๑ : แนวคิดและทฤษฎีการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๕๐๕ : ภาษาในบริบททางสังคม | 3 | ||
วภสพ๕๐๖ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกการสอนภาษา | |||
วภสพ๕๑๗ : วิธีการสอนภาษาต่างประเทศ | 3 | ||
วภสพ๕๑๘ : การออกแบบรายวิชาและการพัฒนาสื่อการสอนภาษา | 3 | ||
วภสพ๖๑๓ : สัมมนา: วิธีการสอนภาษา | 3 | ||
วิชาเอกภาษาเพื่อการสื่อสาร | |||
วภสพ๕๒๔ : การวิเคราะห์ภาษาเพื่อการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๖๒๐ : จิตวิทยาการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๖๒๓ : สัมมนา: การสื่อสารเพื่อการพัฒนา | 3 | ||
วิชาเอกการแปล | |||
วภสพ๕๓๐ : ทฤษฎีและหลักสำหรับนักแปลอาชีพ | 3 | ||
วภสพ๖๓๓ : สัมมนา: การแปล | 3 | ||
วภสพ๖๓๕ : วัจนปฏิบัติศาสตร์กับการแปล | 3 | ||
วิชาเอกภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการบริหารองค์การ | |||
วภสพ๕๔๑ : ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการบริหารองค์กร | 3 | ||
วภสพ๕๔๔ : การสื่อสารองค์การ | 3 | ||
วภสพ๖๔๓ : สัมมนา: ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการบริหารองค์การ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วพสพ๕๑๕ : การรับภาษาที่สอง | 3 | ||
วภสพ๕๒๓ : บทบาทของสื่อมวลชนในสังคมไทย | 3 | ||
วภสพ๕๓๓ : การแปลเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ | 3 | ||
วภสพ๕๓๕ : ภาวะทวิภาษากับการแปล | 3 | ||
วภสพ๕๔๕ : ภาวะผู้นำ ภาษา และวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสพ๕๗๓ : การศึกษาสื่อพื้นบ้าน | 3 | ||
วภสพ๕๗๔ : การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ | 3 | ||
วภสพ๕๗๖ : ภาษาเพื่อการประชาสัมพันธ์ | 3 | ||
วภสพ๕๗๗ : ภาษาในข่าว | 3 | ||
วภสพ๕๗๙ : ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๕๘๒ : การแปลเพื่อการประชาสัมพันธ์ | 3 | ||
วภสพ๕๘๔ : ระบบสัญลักษณ์ในสังคม | 3 | ||
วภสพ๕๘๖ : ภาษาอังกฤษในข่าว | 3 | ||
วภสพ๕๘๗ : การผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์ | 3 | ||
วภสพ๕๘๘ : การแปลเพื่อการประชาสัมพันธ์ | 3 | ||
วภสพ๕๘๙ : พัฒนาการของการแปลในประเทศไทย: การศึกษาทางภาษาและวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสพ๕๙๐ : การแปลด้านกฎหมาย | 3 | ||
วภสพ๕๙๑ : การแปลข่าว | 3 | ||
วภสพ๖๑๔ : ภาษาอังกฤษในฐานะภาษานานาชาติ | 3 | ||
วภสพ๖๒๕ : เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร | 3 | ||
วภสพ๖๔๑ : การศึกษาพฤติกรรมในองค์กร | 3 | ||
วภสพ๖๗๐ : การสอนภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ | 3 | ||
วภสพ๖๗๑ : จรรยาบรรณและกฎหมายที่ควรรู้ในวิชาชีพ | 3 | ||
วภสพ๖๗๗ : การศึกษาอิสระ | 3 | ||
วภสพ๖๗๘ : การรู้เท่าทันสื่อ | 3 | ||
วภสพ๖๗๙ : การจัดการธุรกิจชุมชน | 3 | ||
วภสพ๖๘๑ : การแปลวรรณกรรม | 3 | ||
วภสพ๖๘๔ : การจัดการข้ามวัฒนธรรม | 3 | ||
วภสพ๖๘๕ : การจัดการการเงิน | 3 | ||
วภสพ๖๘๖ : การจัดการการตลาด | 3 | ||
วภสพ๖๘๗ : การแปลสารคดีและบันเทิงคดี | 3 | ||
วภสพ๖๘๘ : การแปลภาพยนตร์ | 3 | ||
วภสพ๖๘๙ : จิตวิทยาองค์การ | 3 | ||
วภสพ๖๙๐ : อัตลักษณ์และการเรียนการสอนภาษา | 3 | ||
วภสพ๖๙๑ : การแปลงานด้านวิชาการ | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วภสพ๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |