เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันเสาร์ที่   27   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
เว็บไซต์ http://www.lc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภาษาศาสตร์)

จุดเด่นของหลักสูตร

นักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตรนี้จะสามารถวิเคราะห์ภาษาได้ทั้งด้านเสียงและไวยากรณ์ และสามารถนำทักษะ การวิเคราะห์ที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ทางด้านภาษาศาสตร์ทฤษฎี หรือภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือภาษาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการพัฒนา ในความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมในประเทศไทย จีน อินเดีย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถสร้างองค์ความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมและเป็น ผู้มีคุณธรรม จริยธรรมทั้งวิชาการและวิชาชีพ

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ก แบบ ก๒ 
(๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขาจากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง
(๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
(๓) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย
(๔) ผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
(๕) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๒) ถึงข้อ (๔) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ข
(๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขาจากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง
(๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
(๓) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย
(๔) ผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
(๕) มีประสบการณ์ทำงานในสาขาที่เกี่ยวข้องกับภาษา ภาษาศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า ๑ ปี
(๖) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๒) ถึงข้อ (๕) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 15            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์
- นักวิชาการด้านภาษาศาสตร์
- นักวิจัยด้านภาษาศาสตร์

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วภภษ๕๐๒ : สัทศาสตร์และสัทวิทยา 3
วภภษ๕๐๓ : วิทยาหน่วยคำและวากยสัมพันธ์ 3
วภภษ๕๐๔ : อรรถศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์ 3
วภภษ๕๑๑ : สัมมนาวิจัยทางภาษาศาสตร์ 3
วภภษ๕๓๓ : อัตลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรมในเอเชีย 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วภภษ๕๐๗ : ภาษาศาสตร์การศึกษา 3
วภภษ๕๐๘ : ภาษาและวัฒนธรรมในสังคมพหุลักษณ์ 3
วภภษ๕๐๙ : ระเบียบวิธีวิจัยภาคสนามทางภาษาศาสตร์ 3
วภภษ๕๑๐ : กลสัทศาสตร์ 3
วภภษ๕๒๑ : แบบลักษณ์ภาษา 3
วภภษ๕๒๒ : วัจนปฏิบัติศาสตร์ขั้นสูง 3
วภภษ๕๒๓ : สัมพันธสารวิเคราะห์ 3
วภภษ๕๒๖ : ภาษาศาสตร์สังคมและการพัฒนา 3
วภภษ๕๒๗ : ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและเปรียบเทียบ 3
วภภษ๕๓๗ : การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับนักภาษาศาสตร์ 3
วภภษ๕๓๘ : การฝึกปฏิบัติการวิจัยทางภาษาศาสตร์ภาคสนาม 3
วภภษ๕๓๙ : ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล 3
วภภษ๕๔๓ : การทำพจนานุกรม 3
วภภษ๕๔๔ : การสัมผัสภาษาและภาษาสัมผัส 3
วภภษ๕๔๕ : ภาษาศาสตร์สังคมกับการสอนภาษา 3
วภภษ๕๔๖ : การพัฒนาและการฟื้นฟูภาษา 3
วภภษ๕๔๗ : ภาวะพหุภาษา และการศึกษาแบบพหุภาษา 3
วภภษ๕๔๘ : ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์และการประมวลผลภาษาธรรมชาติ 3
วภภษ๕๔๙ : ภาษาศาสตร์ตระกูลทิเบต-พม่า 3
วภภษ๕๕๐ : ภาษาและการสื่อสารสุขภาพ 3
วภภษ๕๕๑ : การบันทึกข้อมูลทางภาษาและคลังข้อมูลขนาดใหญ่ 3
วภภษ๕๕๒ : ภาษาศาสตร์กับสื่อสังคมออนไลน์ 3
วภภษ๕๕๓ : สัทวิทยาขั้นสูง 3
วภภษ๕๕๔ : ภาษาศาสตร์และสัทศาสตร์คลินิก 3
วภภษ๕๕๕ : ภูมิภาษาศาสตร์และระบบภูมิสารสนเทศ 3
วภภษ๕๕๖ : ภาษาศาสตร์ภาษาจีน 3
วภภษ๕๕๗ : ภาษาศาสตร์ภาษาพม่า 3
วภภษ๕๕๘ : ภาษาศาสตร์ภาษาเขมร 3
วภภษ๕๖๑ : ภาษาศาสตร์ภาษาเวียดนาม 3
วภภษ๕๖๒ : ภาษาศาสตร์ตระกูลออสโตรเอเชียติก 3
วภภษ๕๖๔ : ภาษาศาสตร์ตระกูลข้า-ไท 3
วภภษ๕๖๖ : ภาษาศาสตร์ตระกูลออสโตรนีเซียน 3
วภภษ๕๖๗ : ภาษาศาสตร์ภาษาเกาหลี 3
วภภษ๕๖๘ : ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่น 3
วภภษ๕๖๙ : ภาษาศาสตร์อัลไต 3
วภภษ๕๗๐ : ภาษาศาสตร์ตระกูลอินโดยูโรเปียน 3
วภภษ๕๘๘ : ภาษาไทยในวรรณคดีและศัพทมูลวิทยาภาษาไทย 3
วภภษ๕๘๙ : หัวข้อคัดสรรทางภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาไทย 3
วภภษ๕๙๐ : โครงสร้างภาษาไทยขั้นสูง 3
วภภษ๕๙๑ : ภาษาศาสตร์เพื่อการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ 3
วภภษ๕๙๓ : ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 3
วภภษ๕๙๗ : อักษรไท 3
วภภษ๖๐๐ : ภาษาศาสตร์ภาษามือ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วภภษ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วภภษ๕๐๒ : สัทศาสตร์และสัทวิทยา 3
วภภษ๕๐๓ : วิทยาหน่วยคำและวากยสัมพันธ์ 3
วภภษ๕๐๔ : อรรถศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์ 3
วภภษ๕๑๑ : สัมมนาวิจัยทางภาษาศาสตร์ 3
วภภษ๕๓๓ : อัตลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรมในเอเชีย 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วภภษ๕๐๗ : ภาษาศาสตร์การศึกษา 3
วภภษ๕๐๘ : ภาษาและวัฒนธรรมในสังคมพหุลักษณ์ 3
วภภษ๕๐๙ : ระเบียบวิธีวิจัยภาคสนามทางภาษาศาสตร์ 3
วภภษ๕๑๐ : กลสัทศาสตร์ 3
วภภษ๕๒๑ : แบบลักษณ์ภาษา 3
วภภษ๕๒๒ : วัจนปฏิบัติศาสตร์ขั้นสูง 3
วภภษ๕๒๓ : สัมพันธสารวิเคราะห์ 3
วภภษ๕๒๖ : ภาษาศาสตร์สังคมและการพัฒนา 3
วภภษ๕๒๗ : ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและเปรียบเทียบ 3
วภภษ๕๓๗ : การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับนักภาษาศาสตร์ 3
วภภษ๕๓๘ : การฝึกปฏิบัติการวิจัยทางภาษาศาสตร์ภาคสนาม 3
วภภษ๕๓๙ : ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล 3
วภภษ๕๔๓ : การทำพจนานุกรม 3
วภภษ๕๔๔ : การสัมผัสภาษาและภาษาสัมผัส 3
วภภษ๕๔๕ : ภาษาศาสตร์สังคมกับการสอนภาษา 3
วภภษ๕๔๖ : การพัฒนาและการฟื้นฟูภาษา 3
วภภษ๕๔๗ : ภาวะพหุภาษา และการศึกษาแบบพหุภาษา 3
วภภษ๕๔๘ : ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์และการประมวลผลภาษาธรรมชาติ 3
วภภษ๕๔๙ : ภาษาศาสตร์ตระกูลทิเบต-พม่า 3
วภภษ๕๕๐ : ภาษาและการสื่อสารสุขภาพ 3
วภภษ๕๕๑ : การบันทึกข้อมูลทางภาษาและคลังข้อมูลขนาดใหญ่ 3
วภภษ๕๕๒ : ภาษาศาสตร์กับสื่อสังคมออนไลน์ 3
วภภษ๕๕๓ : สัทวิทยาขั้นสูง 3
วภภษ๕๕๔ : ภาษาศาสตร์และสัทศาสตร์คลินิก 3
วภภษ๕๕๕ : ภูมิภาษาศาสตร์และระบบภูมิสารสนเทศ 3
วภภษ๕๕๖ : ภาษาศาสตร์ภาษาจีน 3
วภภษ๕๕๗ : ภาษาศาสตร์ภาษาพม่า 3
วภภษ๕๕๘ : ภาษาศาสตร์ภาษาเขมร 3
วภภษ๕๖๑ : ภาษาศาสตร์ภาษาเวียดนาม 3
วภภษ๕๖๒ : ภาษาศาสตร์ตระกูลออสโตรเอเชียติก 3
วภภษ๕๖๔ : ภาษาศาสตร์ตระกูลข้า-ไท 3
วภภษ๕๖๖ : ภาษาศาสตร์ตระกูลออสโตรนีเซียน 3
วภภษ๕๖๗ : ภาษาศาสตร์ภาษาเกาหลี 3
วภภษ๕๖๘ : ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่น 3
วภภษ๕๖๙ : ภาษาศาสตร์อัลไต 3
วภภษ๕๗๐ : ภาษาศาสตร์ตระกูลอินโดยูโรเปียน 3
วภภษ๕๘๘ : ภาษาไทยในวรรณคดีและศัพทมูลวิทยาภาษาไทย 3
วภภษ๕๘๙ : หัวข้อคัดสรรทางภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาไทย 3
วภภษ๕๙๐ : โครงสร้างภาษาไทยขั้นสูง 3
วภภษ๕๙๑ : ภาษาศาสตร์เพื่อการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ 3
วภภษ๕๙๓ : ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 3
วภภษ๕๙๗ : อักษรไท 3
วภภษ๖๐๐ : ภาษาศาสตร์ภาษามือ 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
วภวษ๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6