เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   19   กันยายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
เว็บไซต์ http://www.lc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภาษาศาสตร์)

วิชาเอก

  • วิชาเอกภาษาศาสตร์ทฤษฎี
  • วิชาเอกภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • วิชาเอกภาษาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการพัฒนา
  • จุดเด่นของหลักสูตร

    นักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตรนี้จะสามารถวิเคราะห์ภาษาได้ทั้งด้านเสียงและไวยากรณ์ และสามารถนำทักษะ การวิเคราะห์ที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ทางด้านภาษาศาสตร์ทฤษฎี หรือภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือภาษาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการพัฒนา ในความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมในประเทศไทย จีน อินเดีย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถสร้างองค์ความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมและเป็น ผู้มีคุณธรรม จริยธรรมทั้งวิชาการและวิชาชีพ

    คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

    แผน ก แบบ ก ๒
    ๑.  สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนสุดท้ายในระดับปริญญาตรีทุกสาขา
    ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
    ๓. ผู้ที่มีความรู้ภาษาท้องถิ่น หรือภาษาเพื่อนบ้านภาษาใดภาษาหนึ่งจะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ    
    ๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า
    ศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
    
    แผน ข
    ๑. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขา
    ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
    ๓. ผู้ที่มีความรู้ภาษาท้องถิ่น  หรือภาษาเพื่อนบ้านภาษาใดภาษาหนึ่งจะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ    
    ๔. เป็นผู้มีประสบการณ์ทำงานในสาขาที่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาไม่น้อยกว่า ๓ ปี
    ๕. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า
    ศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

    โครงสร้างหลักสูตร

    แผน ก แบบ ก๒
    หมวดวิชาแกน 12            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
    แผน ข
    หมวดวิชาแกน 12            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 15            หน่วยกิต
    สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต

    อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


    - วิทยากรผู้ถ่ายทอดความรู้
    - นักวิจัย
    - นักพัฒนา
    - นักวิชาการประจำหน่วยงาน
    - นักวิชาการอิสระ และเจ้าหน้าที่ในองค์กรพัฒนาเอกชน

    รายวิชาในหลักสูตร

    แผน ก แบบ ก2

    หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
    วภภษ๕๐๐ : สัทศาสตร์ 3
    วภภษ๕๐๔ : สัทวิทยา 3
    วภภษ๕๐๕ : วากยสัมพันธ์ 3
    วภภษ๕๐๘ : การออกภาคสนาม 1
    วภภษ๕๐๙ : วิธีวิจัยภาคสนามทางภาษาศาสตร์ 2
    หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
       วิชาเอกภาษาศาสตร์ทฤษฎี
    วภภษ๕๓๔ : ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ 3
    วภภษ๕๓๖ : อรรถศาสตร์ 3
       วิชาเอกภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    วภภษ๕๐๖ : ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ 3
    วภภษ๕๓๒ : ภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3
       วิชาเอกภาษาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการพัฒนา
    วภภษ๕๐๗ : ภาษาศาสตร์การศึกษา 3
    วภภษ๕๒๕ : ภาษาศาสตร์สังคม 3
    หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
       วิชาเอกภาษาศาสตร์ทฤษฎี
    : 0
    วภภษ๕๒๐ : วัจนปฏิบัติศาสตร์ 3
    วภภษ๕๒๓ : สัมพันธสารวิเคราะห์ 3
    วภภษ๕๓๒ : ภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3
    วภภษ๕๓๕ : การเขียนและระบบการเขียน 3
    วภภษ๕๓๗ : คอมพิวเตอร์และภาษาศาสตร์ 3
    วภภษ๕๓๙ : ภาษาศาสตร์กับการสอนภาษา 3
    วภภษ๕๔๐ : ภาษาศาสตร์วรรณคดี 3
    วภภษ๕๔๓ : การทำพจนานุกรม 3
    วภภษ๖๓๖ : การจัดเก็บข้อมูลภาษา 3
    วภภษ๖๙๕ : วิทยาภาษาถิ่น 3
    วภภษ๖๙๖ : การวิจัยตามกำหนด 3
       วิชาเอกภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    วภภษ๕๓๔ : ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ 3
    วภภษ๕๓๖ : อรรถศาสตร์ 3
    วภภษ๕๔๙ : ภาษาศาสตร์ตระกูลธิเบต-พม่า 3
    วภภษ๕๖๒ : ภาษาศาสตร์ตระกูลออสโตรเอเชียติก 3
    วภภษ๕๖๖ : ภาษาศาสตร์ตระกูลออสโตรนีเซียน 3
    วภภษ๖๓๒ : ภาษาศาสตร์ภาษามือ 3
    วภภษ๖๓๗ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาพม่า 3
    วภภษ๖๓๘ : เรื่องคัดเฉพาะภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาพม่า 3
    วภภษ๖๓๙ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาจีน 3
    วภภษ๖๔๕ : เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาจีน 3
    วภภษ๖๔๖ : ภาษาศาสตร์ตระกูลจีน 3
    วภภษ๖๔๗ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาเขมร 3
    วภภษ๖๔๘ : เรื่องคัดเฉพาะภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาเขมร 3
    วภภษ๖๔๙ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาเวียดนาม 3
    วภภษ๖๖๙ : เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาเวียดนาม 3
    วภภษ๖๗๗ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษามลายู 3
    วภภษ๖๙๐ : เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาและภาษาศาสตร์ภาษามาเลย์ 3
    วภภษ๖๙๑ : เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาและภาษาศาสตร์ตระกูลไท-กะได 3
    วภภษ๖๙๒ : ภาษาศาสตร์ตระกูลไท-กะได 3
    วภภษ๖๙๓ : ภาษามือไทย ๑ 3
    วภภษ๖๙๔ : ภาษามือไทย ๒ 3
    วภภษ๖๙๖ : การวิจัยตามกำหนด 3
       วิชาเอกภาษาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการพัฒนา
    วพสพ๕๑๕ : การรับภาษาที่สอง 3
    วภภษ๕๐๖ : ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ 3
    วภภษ๕๒๐ : วัจนปฏิบัติศาสตร์ 3
    วภภษ๕๓๒ : ภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3
    วภภษ๕๓๗ : คอมพิวเตอร์และภาษาศาสตร์ 3
    วภภษ๕๓๙ : ภาษาศาสตร์กับการสอนภาษา 3
    วภภษ๕๔๓ : การทำพจนานุกรม 3
    วภภษ๕๔๖ : ภาษาในภาวะวิกฤตและการอนุรักษ์ฟื้นฟูความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรม 3
    วภภษ๕๔๗ : ภาวะพหุภาษา และการศึกษาแบบพหุภาษา 3
    วภภษ๕๔๘ : สัมมนานโยบายและการวางแผนภาษา 3
    วภภษ๖๓๒ : ภาษาศาสตร์ภาษามือ 3
    วภภษ๖๓๕ : ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชีย 3
    วภภษ๖๓๖ : การจัดเก็บข้อมูลภาษา 3
    วภภษ๖๘๙ : ภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยา 3
    วภภษ๖๙๖ : การวิจัยตามกำหนด 3
    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
    วภภษ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

    แผน ข

    หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
    วภภษ๕๐๐ : สัทศาสตร์ 3
    วภภษ๕๐๔ : สัทวิทยา 3
    วภภษ๕๐๕ : วากยสัมพันธ์ 3
    วภภษ๕๐๘ : การออกภาคสนาม 1
    วภภษ๕๐๙ : วิธีวิจัยภาคสนามทางภาษาศาสตร์ 2
    หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
       วิชาเอกภาษาศาสตร์ทฤษฎี
    วภภษ๕๓๔ : ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ 3
    วภภษ๕๓๖ : อรรถศาสตร์ 3
       วิชาเอกภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    วภภษ๕๐๖ : ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ 3
    วภภษ๕๓๒ : ภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3
       วิชาเอกภาษาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการพัฒนา
    วภภษ๕๐๗ : ภาษาศาสตร์การศึกษา 3
    วภภษ๕๒๕ : ภาษาศาสตร์สังคม 3
    หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
       วิชาเอกภาษาศาสตร์ทฤษฎี
    : 0
    วภภษ๕๒๐ : วัจนปฏิบัติศาสตร์ 3
    วภภษ๕๒๓ : สัมพันธสารวิเคราะห์ 3
    วภภษ๕๓๒ : ภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3
    วภภษ๕๓๕ : การเขียนและระบบการเขียน 3
    วภภษ๕๓๗ : คอมพิวเตอร์และภาษาศาสตร์ 3
    วภภษ๕๓๙ : ภาษาศาสตร์กับการสอนภาษา 3
    วภภษ๕๔๐ : ภาษาศาสตร์วรรณคดี 3
    วภภษ๕๔๓ : การทำพจนานุกรม 3
    วภภษ๖๓๖ : การจัดเก็บข้อมูลภาษา 3
    วภภษ๖๙๕ : วิทยาภาษาถิ่น 3
    วภภษ๖๙๖ : การวิจัยตามกำหนด 3
       วิชาเอกภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    วภภษ๕๓๔ : ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ 3
    วภภษ๕๓๖ : อรรถศาสตร์ 3
    วภภษ๕๔๙ : ภาษาศาสตร์ตระกูลธิเบต-พม่า 3
    วภภษ๕๖๒ : ภาษาศาสตร์ตระกูลออสโตรเอเชียติก 3
    วภภษ๕๖๖ : ภาษาศาสตร์ตระกูลออสโตรนีเซียน 3
    วภภษ๖๓๒ : ภาษาศาสตร์ภาษามือ 3
    วภภษ๖๓๗ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาพม่า 3
    วภภษ๖๓๘ : เรื่องคัดเฉพาะภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาพม่า 3
    วภภษ๖๓๙ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาจีน 3
    วภภษ๖๔๕ : เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาจีน 3
    วภภษ๖๔๖ : ภาษาศาสตร์ตระกูลจีน 3
    วภภษ๖๔๗ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาเขมร 3
    วภภษ๖๔๘ : เรื่องคัดเฉพาะภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาเขมร 3
    วภภษ๖๔๙ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาเวียดนาม 3
    วภภษ๖๖๙ : เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาและภาษาศาสตร์ภาษาเวียดนาม 3
    วภภษ๖๗๗ : ภาษาและภาษาศาสตร์ภาษามลายู 3
    วภภษ๖๙๐ : เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาและภาษาศาสตร์ภาษามาเลย์ 3
    วภภษ๖๙๑ : เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาและภาษาศาสตร์ตระกูลไท-กะได 3
    วภภษ๖๙๒ : ภาษาศาสตร์ตระกูลไท-กะได 3
    วภภษ๖๙๓ : ภาษามือไทย ๑ 3
    วภภษ๖๙๔ : ภาษามือไทย ๒ 3
    วภภษ๖๙๖ : การวิจัยตามกำหนด 3
       วิชาเอกภาษาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการพัฒนา
    วพสพ๕๑๕ : การรับภาษาที่สอง 3
    วภภษ๕๐๖ : ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ 3
    วภภษ๕๒๐ : วัจนปฏิบัติศาสตร์ 3
    วภภษ๕๓๒ : ภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3
    วภภษ๕๓๗ : คอมพิวเตอร์และภาษาศาสตร์ 3
    วภภษ๕๓๙ : ภาษาศาสตร์กับการสอนภาษา 3
    วภภษ๕๔๓ : การทำพจนานุกรม 3
    วภภษ๕๔๖ : ภาษาในภาวะวิกฤตและการอนุรักษ์ฟื้นฟูความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรม 3
    วภภษ๕๔๗ : ภาวะพหุภาษา และการศึกษาแบบพหุภาษา 3
    วภภษ๕๔๘ : สัมมนานโยบายและการวางแผนภาษา 3
    วภภษ๖๓๒ : ภาษาศาสตร์ภาษามือ 3
    วภภษ๖๓๕ : ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชีย 3
    วภภษ๖๓๖ : การจัดเก็บข้อมูลภาษา 3
    วภภษ๖๕๔ : สัมมนาทางภาษาศาสตร์เปรียบเทียบเชิงประวัติ 3
    วภภษ๖๘๙ : ภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยา 3
    วภภษ๖๙๖ : การวิจัยตามกำหนด 3
       สำหรับผู้สำเร็จหลักสูตรปริญญาโท สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษา
    : 0
    สารนิพนธ์ หน่วยกิต
    วภวษ๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6

    อาจารย์ประจำหลักสูตร