ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลและเชิงบูรณาการ (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล |
เว็บไซต์ |
http://www.mb.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลและเชิงบูรณาการ)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
Plan 2.1 For students with a Master's degree (1) Holding a Master's Degree or equivalent in biological sciences or other related fields. (2) Have cumulative GPA not less than 3.50. (3) Have and English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies. (4) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies. (5) Qualifications different from (2) - (4) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies. Plan 2.2 For students with a Bachelor's degree (1) Holding a Bachelor's Degree or equivalent in biological sciences or other related fields. (2) Have cumulative GPA not less than 3.50. (3) Have and English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies. (4) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies. (5) Qualifications different from (2) - (4) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 2.1 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 3 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แผน 2.2 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. Researcher 2. Academic Personnel/Lecturer 3. Entrepreneur / Innovator 4. Product Specialist / Technical Support Staff 5. Science Communicator
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
ชมชม๕๐๑ : ชีววิทยาระดับโมเลกุล | 2 | ||
ชมชม๕๐๒ : ชีววิทยาระดับเซลล์ | 3 | ||
ชมชม๕๐๓ : ชีววิทยาศาสตร์เชิงบูรณาการ | 1 | ||
ชมชม๖๐๐ : หลักสำคัญสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลและเชิงบูรณาการ | 2 | ||
ชมชม๖๐๔ : การออกแบบงานวิจัยในสาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลและเชิงบูรณาการระดับปริญญาเอก | 1 | ||
ชมชม๖๐๕ : สัมมนาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลและเชิงบูรณาการ | 2 | ||
ชมชม๖๐๖ : การประชุมงานวิจัยระดับปริญญาเอก | 2 | ||
ชมชม๖๐๗ : การสื่อสารงานวิจัยสู่บุคคลทั่วไป | 2 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
ชมชม๖๐๐ : หลักสำคัญสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลและเชิงบูรณาการ | 2 | ||
ชมชม๖๐๔ : การออกแบบงานวิจัยในสาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลและเชิงบูรณาการระดับปริญญาเอก | 1 | ||
ชมชม๖๐๕ : สัมมนาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลและเชิงบูรณาการ | 2 | ||
ชมชม๖๐๖ : การประชุมงานวิจัยระดับปริญญาเอก | 2 | ||
ชมชม๖๐๗ : การสื่อสารงานวิจัยสู่บุคคลทั่วไป | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ชมชม๖๒๑ : หัวข้อปัจจุบันขั้นสูงทางด้านชีววิทยาระดับโมเลกุลและเชิงบูรณาการ | 1 | ||
ชมชม๖๒๒ : การฝึกสอนสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก | 1 | ||
ชมชม๖๒๓ : การพัฒนาทักษะด้านอาชีพสำหรับนักศึกษาชีววิทยาศาสตร์โมเลกุลระดับปริญญาเอก | 1 | ||
ชมชม๖๒๔ : เวกเตอร์ไวรัสที่เกี่ยวข้องกับไวรัสอะดีโน | 1 | ||
ชมชม๖๒๕ : สารต้านแบคทีเรียและแบคเทอริโอเฟจ | 2 | ||
ชมชม๖๒๖ : แบคทีเรียวิทยา | 2 | ||
ชมชม๖๒๗ : ผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อความยั่งยืน | 1 | ||
ชมชม๖๒๘ : พื้นฐานและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไบโอเซนเซอร์ | 2 | ||
ชมชม๖๒๙ : ชีววิทยามะเร็งและการแพทย์แม่นยำ | 2 | ||
ชมชม๖๓๐ : การถ่ายภาพระดับเซลล์และโมเลกุล | 1 | ||
ชมชม๖๓๑ : การตัดต่อจีโนมด้วยคริสเปอร์/คาสไนน์ | 1 | ||
ชมชม๖๓๒ : การใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ดเพื่อระบุและจำแนกสิ่งมีชีวิต | 1 | ||
ชมชม๖๓๓ : การศึกษาแบคทีเรียก่อโรคด้วยการหาลำดับดีเอ็นเอ | 1 | ||
ชมชม๖๓๔ : การค้นพบและการพัฒนายา | 1 | ||
ชมชม๖๓๕ : การตรวจหาดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม (EDNA): เทคนิคเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ | 1 | ||
ชมชม๖๓๖ : สัตว์ทดลองสำหรับงานวิจัยทางชีววิทยาศาสตร์ | 1 | ||
ชมชม๖๓๗ : เทคโนโลยีโปรตีนฟลูออเรสเซนซ์และวิศกรรมจีโนมยีสต์ | 1 | ||
ชมชม๖๓๘ : ประสาทวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน | 1 | ||
ชมชม๖๓๙ : การสร้างและการตรวจสอบคุณสมบัติเซลล์ต้นกำเนิดชนิดเหนี่ยวนำ | 1 | ||
ชมชม๖๔๐ : การเรียนรู้ของเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานวิจัยทางด้านชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล | 1 | ||
ชมชม๖๔๑ : เวกเตอร์ไวรัสเลนติ | 1 | ||
ชมชม๖๔๒ : การพัฒนาวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ | 1 | ||
ชมชม๖๔๓ : โอมิกส์ในการศึกษาการควบคุมยีน | 1 | ||
ชมชม๖๔๔ : การก่อกลายพันธุ์ยีนด้วยเทคนิคพีซีอาร์เพื่อการวิศวกรรมโปรตีน | 1 | ||
ชมชม๖๔๕ : เทคนิคไพรม์อีดิติง | 1 | ||
ชมชม๖๔๖ : เทคโนโลยีโปรตีโอมิกส์และการประยุกต์ | 1 | ||
ชมชม๖๔๗ : งานวิจัยสู่ธุรกิจ | 1 | ||
ชมชม๖๔๘ : การดัดแปรแป้งเพื่อนวัตกรรมอาหารฟังก์ชัน | 1 | ||
ชมชม๖๔๙ : ชีวสารสนเทศศาสตร์โครงสร้างและการออกแบบยา | 1 | ||
ชมชม๖๕๐ : นวัตกรรมการเรียนรู้เชิงเทคโนโลยี | 2 | ||
ชมชม๖๕๑ : ธาลัสซีเมีย จากห้องปฏิบัติการสู่การรักษา | 2 | ||
ชมชม๖๕๒ : การออกแบบวัคซีน | 1 | ||
ชมชม๖๕๓ : เทคโนโลยีและการพัฒนาวัคซีน | 1 | ||
ชมชม๖๕๔ : เทคนิคทางไวรัสวิทยา | 2 | ||
ชมชม๖๕๕ : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างไวรัสกับเซลล์ | 2 | ||
ชมชม๖๕๖ : การปฏิบัติการกับเชื้อก่อโรคในห้องปฏิบัติการชีวนิรภัย (ระดับ ๒/ระดับ๓) | 1 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
ชมชม๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
ชมชม๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ ฉลองรัตน์ โนรี (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นที เจียรวิริยะไพศาล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นริศร กิติยานันท์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิราพร ปานมณี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดวงฤดี ธารรำลึก
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อลิสา ทับสุวรรณ
- รองศาสตราจารย์ สุจิรา มุกดา
- รองศาสตราจารย์ โสรยา จาตุรงคกุล
- รองศาสตราจารย์ ศรินทร์ ฉิมณรงค์
- รองศาสตราจารย์ เสาวรส สวัสดิวัฒน์
- รองศาสตราจารย์ กนกพร ไตรวิทยากร
- ศาสตราจารย์ ปนัดดา บุญเสริม
- ศาสตราจารย์ Duncan Richard Smith
- ศาสตราจารย์ อภินันท์ อุดมกิจ
- อาจารย์ สิรประภา บุบผาหอม
- อาจารย์ พร้อมสิน มาศรีนวล
- อาจารย์ กิตติพงศ์ ไพบูลย์สุขวงศ์
- อาจารย์ อิทธิพัทธ์ มีวรรณ์
- อาจารย์ ดวงนภา ก่อวนิช
- อาจารย์ ชุติมา เทพฤทธิ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภูชิต โนนจุ้ย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พัชริยา พรรณศิลป์