ผู้สนใจเข้าศึกษา
ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบำบัดคลินิก
ระดับ | ประกาศนียบัตรบัณฑิต |
คณะ/สถาบัน | คณะกายภาพบำบัด |
เว็บไซต์ |
http://www.pt.mahidol.ac.th/en/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ประกาศนียบัตรบัณฑิต(กายภาพบำบัดคลินิก)
วิชาเอก
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชากายภาพบำบัด จากสถาบันการศึกษาที่ได้การรับรองจาก สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ๒. ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ หรือเทียบเท่า ๓. มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ๔. เป็นผู้ถือใบประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัด หรือผู้ที่คาดว่าจะได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัด ภายในภาคการศึกษาที่ ๑ ของหลักสูตร ๕. มีประสบการณ์ทางคลินิกที่เหมาะสมกับสาขาเฉพาะทาง อย่างน้อย ๕๐๐ ชั่วโมง นับถึงวันเริ่มเปิดภาคเรียน ๖. ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากที่กำหนดในข้อ ๒ ถึงข้อ ๒.๒.๔ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 10 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 25 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักกายภาพบำบัดผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ประกอบวิชาชีพในสถานประกอบการโรงพยาบาลที่มีแผนกกายภาพบำบัด คลินิกกายภาพบำบัด
- ผู้ถ่ายทอดความรู้ในสาขากายภาพบำบัดหรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
- เป็นเจ้าของ เป็นผู้ประกอบการคลินิกกายภาพบำบัด
รายวิชาในหลักสูตร
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
กภกค๖๔๑ : การคัดกรองเพื่อการเข้าถึงโดยตรงทางกายภาพบำบัด | 2 | ||
กภกค๖๔๒ : ชีวกลศาสตร์และการควบคุมการเคลื่อนไหวประยุกต์ทางกายภาพบำบัด | 2 | ||
กภกค๖๔๓ : การอ่านรายงานเชิงวิพากษ์ทางกายภาพบำบัด | 1 | ||
กภกค๖๔๔ : สัมมนาทางกายภาพบำบัด | 1 | ||
กภกค๖๔๕ : ภาวะผู้นำและการเป็นผู้ประกอบการทางวิชาชีพกายภาพบำบัด | 3 | ||
กภกค๖๕๑ : การฝึกปฏิบัติงานทางคลินิกในกายภาพบำบัดเฉพาะทาง ๑ | 3 | ||
กภกค๖๕๒ : การฝึกปฏิบัติงานทางคลินิกในกายภาพบำบัดเฉพาะทาง ๒ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ทักษะเฉพาะทางกายภาพบำบัดระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ | |||
กภกค๕๐๓ : วิธีการเชิงบูรณาการเพื่อจัดการปัญหาทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ | 2 | ||
กภกค๕๐๔ : ทฤษฎีและจัดการความปวด | 2 | ||
กภกค๕๐๕ : การบำบัดด้วยมือขั้นสูง | 2 | ||
กภกค๕๐๖ : การบำบัดด้วยการเคลื่อนไหวขั้นสูง | 2 | ||
กภกค๕๐๗ : การบูรณาการจิตใจและร่างกายในการรักษาทางกายภาพบำบัด | 2 | ||
ทักษะเฉพาะทางกายภาพบำบัดระบบประสาท | |||
กภกค๕๑๑ : การตัดสินใจทางคลินิกในภาวะทางระบบประสาท | 2 | ||
กภกค๕๑๒ : ข้อมูลสำคัญสำหรับนักกายภาพบำบัดทางระบบประสาท | 2 | ||
กภกค๕๑๓ : การออกกำลังกายเพื่อการรักษาทางระบบประสาท | 3 | ||
กภกค๕๑๔ : กายภาพบำบัดแบบบูรณาการสำหรับผู้ป่วยทางระบบประสาท | 3 | ||
ทักษะเฉพาะทางกายภาพบำบัดระบบหายใจ และหัวใจหลอดเลือด | |||
กภกค๕๑๕ : เภสัชวิทยาสำหรับกายภาพบำบัด | 2 | ||
กภกค๕๑๖ : พยาธิสรีรวิทยา และการรักษาทางการแพทย์ด้านระบบหายใจ หัวใจและหลอดเลือด | 2 | ||
กภกค๕๑๗ : กายภาพบำบัดทางการดูแลภาวะวิกฤ | 2 | ||
กภกค๕๑๘ : การออกกำลังกายและการฟื้นฟูสมรรถภาพให้เหมาะกับหัวใจและปอด | 2 | ||
กภกค๕๑๙ : กายภาพบำบัดทางภาวะอายุรกรรมและศัลยกรรม | 2 | ||
ทักษะเฉพาะทางกายภาพบำบัดเด็ก | |||
กภกค๕๒๑ : การประเมินเชิงพัฒนาการทางกายภาพบำบัดเด็ก | 3 | ||
กภกค๕๒๒ : กายภาพบำบัดเด็กที่ทันสมัย | 3 | ||
กภกค๕๒๓ : กายภาพบำบัดเด็กทางการให้ความช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม | 2 | ||
กภกค๕๒๔ : แนวทางเชิงบูรณาการทางกายภาพบำบัดเด็ก | 2 | ||
ทักษะเฉพาะทางกายภาพบำบัดผู้สูงอายุ | |||
กภกค๕๒๕ : กลุ่มโรคและหลักการดูแลผู้สูงอายุ | 2 | ||
กภกค๕๒๖ : วิทยาศาสตร์การชะลอวัยและการฟื้นฟูสุขภาพ | 2 | ||
กภกค๕๒๗ : กายภาพบำบัดผู้สูงอายุ ๑ | 2 | ||
กภกค๕๒๘ : กายภาพบำบัดกับผู้สูงอายุ ๒ | 2 | ||
กภกค๕๒๙ : แนวทางแบบองค์รวมในการดูแลผู้สูงอายุ | 2 | ||
ทักษะเฉพาะทางกายภาพบำบัดการกีฬา | |||
กภกค๕๓๑ : ประสาทกลศาสตร์ทางการกีฬา | 2 | ||
กภกค๕๓๒ : เวชศาสตร์การกีฬา | 1 | ||
กภกค๕๓๓ : กายภาพบำบัดการกีฬา ๑ | 3 | ||
กภกค๕๓๔ : กายภาพบำบัดการกีฬา ๒ | 3 | ||
กภกค๕๓๕ : สรีรวิทยาขั้นสูงทางการออกกำลังกายและกีฬา | 1 | ||
ทักษะเฉพาะทางกายภาพบำบัดชุมชนและการส่งเสริมสุขภาพ | |||
กภกค๕๓๖ : กายภาพบำบัดชุมชนระดับวิชาชีพ ๑ | 2 | ||
กภกค๕๓๗ : กายภาพบำบัดชุมชน ระดับวิชาชีพ ๒ | 2 | ||
กภกค๕๓๘ : เครื่องมือที่ใช้ทางกายภาพบำบัดชุมชน | 3 | ||
กภกค๕๓๙ : เทคโนโลยีอำนวยความสะดวกทางกายภาพบำบัดชุมชน | 3 | ||
ทักษะอื่นๆ | |||
กภกค๕๖๓ : กายภาพบำบัดทางระบบการศึกษาพิเศษ | 2 | ||
กภกค๕๖๔ : เทคโนโลยีอำนวยความสะดวกสำหรับความพิการทางร่างกาย | 2 | ||
กภกค๕๘๖ : การออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่องานกายภาพบำบัด | 2 | ||
กภกค๕๙๗ : โครงการวิจัยทางกายภาพบำบัด | 2 | ||
กภกค๖๕๓ : การฝึกปฏิบัติเพิ่มพูนทักษะกายภาพบำบัดเฉพาะทาง | 2 | ||
กภกค๖๕๔ : ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับนักกายภาพบำบัด | 2 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ สิริกาญจน์ สมประสงค์ (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชนก ไกรวงศ์
- อาจารย์ สุธาสินี ทองอ่อน
- อาจารย์ สุรชาต ทองชุมสิน
- รองศาสตราจารย์ วรรธนะ ชลายนเดชะ
- รองศาสตราจารย์ ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ
- รองศาสตราจารย์ สุนีย์ บวรสุนทรชัย
- รองศาสตราจารย์ จารุกูล ตรีไตรลักษณะ
- รองศาสตราจารย์ วิมลวรรณ เหียงแก้ว
- รองศาสตราจารย์ รุ่งทิวา วัจฉละฐิติ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คีรินท์ เมฆโหรา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระวีวรรณ เล็กสกุลไชย
- รองศาสตราจารย์ มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์
- อาจารย์ วรรณเพ็ญ จันทร์ศิรินุเคราะห์
- รองศาสตราจารย์ สายพิณฆ์ ประเสริฐสุขดี
- อาจารย์ ฐิติยา วังกาวรรณ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุธินันท์ จันทร
- อาจารย์ กานต์ธีรา อารีรักษ์
- รองศาสตราจารย์ ชุติมา ชลายนเดชะ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นันทินี นวลนิ่ม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภครตี ชัยวัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จุฑามาศ สุระพงษ์ชัย
- อาจารย์ วัลลภ คุณานุสรณ์ชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรินทร์ กฤตยาเกียรณ
- อาจารย์ สุวีณา ค้าเจริญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจพร เอนกแสน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พีรเดช ธิจันทร์เปียง
- รองศาสตราจารย์ คมศักดิ์ สินสุรินทร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จตุพร สุทธิวงษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เฟื่องฟ้า ขอบคุณ
- อาจารย์ วินัย ฉัตรทอง
- อาจารย์ นนทิชา ถาวรไพบูลย์บุตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาวิณี หฤทัยชื่น
- อาจารย์ มะลิวัลย์ เรือนคำ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัตนา เพชรสีทอง
- อาจารย์ วัฒนารี อัมมวรรธน์
- รองศาสตราจารย์ เพชรรัตน์ ภูอนันตานนท์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภลักษณ์ เข็มทอง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผกามาศ พิริยะประสาธน์
- รองศาสตราจารย์ พีร์มงคล วัฒนานนท์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพย์วดี บรรพระจันทร์
- รองศาสตราจารย์ วนาลี กล่อมใจ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เวทสินี แก้วขันตี