ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะสัตวแพทยศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.vs.mahidol.ac.th/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์)
วิชาเอก
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
- วิชาเอกวิทยาศาสตร์การวินิจฉัยทางการสัตวแพทย์ (Veterinary Diagnostic Sciences) และ วิชาเอกเวชศาสตร์ประยุกต์ทางการสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข (Applied Veterinary Biomedical Sciences and Veterinary Public Health) (๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้าย ในหลักสูตร สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง จากมหาวิทยาลัยในประเทศหรือต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก เข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย - วิชาเอกการจัดการสุขภาพสัตว์ สวนสัตว์ และสัตว์ป่า (Zoo Animal and Wildlife Health Managements) (๑) สำเร็จการศึกษา หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายในหลักสูตร สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต วนศาสตรบัณฑิต หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง จากมหาวิทยาลัยในประเทศหรือต่าง ประเทศ ที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก เข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาแกน | 4 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 11 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิจัยที่ปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันวิจัยทั้งในและต่างประเทศ ในสาขาการวินิจฉัยทาง การสัตวแพทย์ เวชศาสตร์ประยุกต์ทางการสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข การจัดการสุขภาพสัตว์ สวนสัตว์ และสัตว์ป่า และการสาธารณสุขในองค์กรภาครัฐและเอกชน
- นักวิทยาศาสตร์ที่ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการชันสูตรขั้นสูงในองค์กรภาครัฐและเอกชน
- ผู้เชี่ยวชาญพิเศษของบริษัทจำหน่ายเครื่องมือ อุปกรณ์ และน้ำยาตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ทางการสัตวแพทย์
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 3 | ||
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ | 3 | ||
สพคร๘๐๒ : จรรยาบรรณทางสัตวแพทย์และสวัสดิภาพสัตว์ | 1 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกวิทยาศาสตร์การวินิจฉัยทางการสัตวแพทย์ | |||
สพคร๗๐๐ : สัมมนาชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ ๑ | 1 | ||
สพคร๗๐๑ : สัมมนาชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ ๒ | 1 | ||
สพคร๗๑๐ : สาเหตุและการดำเนินของโรค | 3 | ||
สพคร๘๐๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
สพปส๗๑๑ : เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ | 3 | ||
สพปส๗๑๒ : ชีวนิรภัยและความปลอดภัยด้านชีวภาพในการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการ | 1 | ||
วิชาเอกเวชศาสตร์ประยุกต์ทางการสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข | |||
สพคร๗๐๐ : สัมมนาชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ ๑ | 1 | ||
สพคร๗๐๑ : สัมมนาชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ ๒ | 1 | ||
สพคร๗๑๐ : สาเหตุและการดำเนินของโรค | 3 | ||
สพคร๘๐๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
สพวค๗๓๐ : วิทยาการระบาดคลินิกทางการสัตวแพทย์ | 2 | ||
สพวค๗๓๑ : เวชวิจักษณ์ทางการสัตวแพทย์ | 1 | ||
สพวค๗๓๒ : กรณีศึกษาทางชีวเวชศาสตร์ | 1 | ||
วิชาเอกการจัดการสุขภาพสัตว์ สวนสัตว์ และสัตว์ป่า | |||
สพคร๗๐๐ : สัมมนาชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ ๑ | 1 | ||
สพคร๗๐๑ : สัมมนาชีวเวชศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ ๒ | 1 | ||
สพคร๗๑๐ : สาเหตุและการดำเนินของโรค | 3 | ||
สพคร๗๗๐ : เวชศาสตร์เชิงอนุรักษ์ | 1 | ||
สพคร๘๐๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
สพวค๗๓๐ : วิทยาการระบาดคลินิกทางการสัตวแพทย์ | 2 | ||
สพวค๗๓๑ : เวชวิจักษณ์ทางการสัตวแพทย์ | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สพปส๗๒๓ : พิษวิทยาวิเคราะห์ | 3 | ||
วิชาเอกวิทยาศาสตร์การวินิจฉัยทางการสัตวแพทย์ | |||
สพคร๗๑๓ : หัวข้อเลือกสรรด้านวิทยาศาสตร์การวินิจฉัยทางการสัตวแพทย์ | 3 | ||
สพคร๗๑๔ : ชีวเคมีทางคลินิกขั้นสูง | 3 | ||
สพคร๘๐๑ : การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ | 1 | ||
สพปส๗๑๕ : ไวรัสวิทยาคลินิกทางการสัตวแพทย์ขั้นสูง | 3 | ||
สพปส๗๑๖ : วิทยาแบคทีเรียคลินิกและวิทยาเชื้อราคลินิกทางการสัตวแพทย์ขั้นสูง | 3 | ||
สพปส๗๑๗ : พิษวิทยาคลินิกทางการสัตวแพทย์ขั้นสูง | 3 | ||
สพปส๗๑๘ : พยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์ทางการสัตวแพทย์ | 3 | ||
สพปส๗๑๙ : การประยุกต์วิธีการตรวจวินิจฉัยปรสิตวิทยาทางการสัตวแพทย์ | 3 | ||
สพปส๗๒๐ : ชีววิทยาระดับโมเลกุลทางการสัตวแพทย์ประยุกต์ | 3 | ||
สพปส๗๒๑ : การใช้และการบริหารจัดการสัตว์ทดลอง | 2 | ||
สพปส๗๒๒ : วิทยาภูมิคุ้มกันทางการสัตวแพทย์ขั้นสูง | 3 | ||
สพปส๘๖๐ : แนวคิดปัจจุบันทางพยาธิวิทยา | 2 | ||
สพปส๘๖๑ : พยาธิวิทยาเฉพาะระบบขั้นสูง | 2 | ||
วิชาเอกเวชศาสตร์ประยุกต์ทางการสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข | |||
ศรวภ๖๑๖ : วิทยาศาสตร์เซลล์ต้นกำเนิด | 3 | ||
สพคร๗๓๓ : ประสาทวิทยาทางการสัตวแพทย์ | 3 | ||
สพคร๗๓๔ : ประสาทพยาธิวิทยาทางการสัตวแพทย์ | 3 | ||
สพคร๗๓๕ : จุลชีววิทยาการอาหารและวิทยาภูมิคุ้มกันประยุกต์ | 3 | ||
สพคร๗๓๖ : ความปลอดภัยและความมั่นคงทางอาหาร | 3 | ||
สพคร๗๓๗ : กฎหมายและข้อบังคับระหว่างประเทศด้านอาหาร | 2 | ||
สพคร๗๔๐ : การสื่อสารระดับโมเลกุลสำหรับการพัฒนายาทางการสัตวแพทย์ | 3 | ||
สพคร๘๐๑ : การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ | 1 | ||
สพปส๗๓๘ : เซลล์ต้นกำเนิดและการฟื้นฟูสภาวะเสื่อมทางเวชศาสตร์การสัตวแพทย์ | 3 | ||
สพปส๗๓๙ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์ | 3 | ||
สพวค๗๔๑ : วิทยาการระบาดทางการสัตวแพทย์ขั้นสูง | 2 | ||
สพวค๗๔๒ : ชีวสถิติทางการสัตวแพทย์ขั้นสูง | 2 | ||
สพวค๗๔๔ : เศรษฐศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหาร | 1 | ||
วิชาเอกการจัดการสุขภาพสัตว์ สวนสัตว์ และสัตว์ป่า | |||
สพคร๗๒๒ : เวชศาสตร์สัตว์สวนสัตว์ประยุกต์ | 2 | ||
สพคร๗๗๓ : เวชศาสตร์สัตว์ป่าประยุกต์ | 2 | ||
สพคร๗๗๔ : หัวข้อเลือกสรรด้านการจัดการสัตว์สวนสัตว์ และสัตว์ป่า | 2 | ||
สพคร๗๗๕ : โภชนศาสตร์สัตว์ประยุกต์ | 3 | ||
สพคร๘๐๑ : การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ | 1 | ||
สพวค๗๗๖ : วัตถุดิบอาหาร การให้อาหาร และการประกอบสูตรอาหารสัตว์ | 3 | ||
สพวค๗๗๗ : การจัดการสัตว์ป่านอกถิ่นอาศัย | 2 | ||
สพวค๗๗๘ : การจัดการสัตว์ป่าในถิ่นอาศัย | 2 | ||
สพวค๗๗๙ : นิติวิทยาศาสตร์สัตว์ป่า | 2 | ||
สพวค๗๘๐ : นิติกีฏวิทยา | 2 | ||
สพวค๗๘๑ : นิติพยาธิวิทยาทางการสัตวแพทย์ | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สพคร๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ กฤษฎา ใจชื้น (ประธานหลักสูตร)
- อาจารย์ มุกมนี ตันสกุล
- รองศาสตราจารย์ สมเกียรติ ห้วยจันทึก
- อาจารย์ รวงรัตน์ พุทธิรงควัตร
- รองศาสตราจารย์ จิตรกมล ธนศักดิ์
- รองศาสตราจารย์ จารุญลักษณ์ จิรภัทรเศรษฐ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รศชงค์ บุณยฤทธิชัยกิจ
- รองศาสตราจารย์ กัมพล แก้วเกษ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดุสิต เลาหสินณรงค์
- อาจารย์ พจนา วรรธนะนิตย์
- รองศาสตราจารย์ พนิดา ชนาภิวัตน์
- รองศาสตราจารย์ สุขฤทัย บุญมาไสว
- รองศาสตราจารย์ ธนศักดิ์ ช่างบรรจง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรรณา ศิริมานะพงษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรินทร์ สุวรรณภักดี
- รองศาสตราจารย์ อนุวัตน์ วิรัชสุดากุล
- รองศาสตราจารย์ บุญรัตน์ จันทร์ทอง
- รองศาสตราจารย์ ปารณีย์ ญาติมาก
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณฐารินทร์ งามวงศ์สถิต
- รองศาสตราจารย์ ชุติเพ็ญ บูรณะสินทรัพย์
- รองศาสตราจารย์ วิทวัช วิริยะรัตน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริญ สุวรรณประภา
- รองศาสตราจารย์ สุดสายใจ กรมาทิตย์สุข
- รองศาสตราจารย์ กนกอร เอื้อเกษมสิน แอนตร้าดรึ รึคิชะ ฟึเร้ยระ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทวีวัลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นลิน อารียา
- รองศาสตราจารย์ วลาสินี ศักดิ์คำดวง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดวงทิพย์ ฉัตรชัยศักดิ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นรสุทธิ์ บางภูมิ
- รองศาสตราจารย์ ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุ่งอรุณเลิศ
- รองศาสตราจารย์ บรรลือ กรมาทิตย์สุข
- รองศาสตราจารย์ สุกัญญา มณีอินทร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรศักดิ์ จิตตะโคตร์