เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันอังคารที่   19   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน คณะสัตวแพทยศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.vs.mahidol.ac.th/

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(วิทยาศาสตร์ทางการสัตวแพทย์)

วิชาเอก

  • วิชาเอกเวชศาสตร์สัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน
  • วิชาเอกเวชศาสตร์การผลิต
  • วิชาเอกพยาธิวิทยา
  • วิชาเอกวิทยาการระบาด
  • จุดเด่นของหลักสูตร

    รับเฉพาะนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ปริญญาเอก โดยมุ่งเน้นให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาในวิชาชีพการสัตวแพทย์ และเมื่อสำเร็จ การศึกษาในหลักสูตรดังกล่าว บัณฑิตจะพร้อมพัฒนาต่อยอดไปเป็นสัตวแพทย์ชำนาญการได้

    คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

    ๑. สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย
    ในประเทศหรือต่างประเทศ ที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
    ๒.ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐
    ๓. มีประสบการณ์ทางวิชาชีพสัตวแพทย์ ไม่น้อยกว่า ๒ ปี  หรือได้รับการเพิ่มพูนทักษะทางคลินิกอย่าง
    เป็นระบบ (internship)
    ๔.ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง จากสภาวิชาชีพ
    ๕.ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก
    เข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

    โครงสร้างหลักสูตร

    แบบ ๒
    หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
    หมวดวิชาแกน 8            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 12            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
    รวมไม่น้อยกว่า 74            หน่วยกิต

    อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


    - สัตวแพทย์ชำนาญการ
    - ผู้เชี่ยวชาญหรือนักวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ทางการสัตวแพทย์
    - ที่ปรึกษาองค์กรที่เกี่ยวข้องด้านวิทยาศาสตร์ทางการสัตวแพทย์

    รายวิชาในหลักสูตร

    แบบ 2

    หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
    สพคร๘๐๑ : การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1
    หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
    สพคร๘๐๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย 2
    สพคร๘๐๕ : ชีวสถิติทางการสัตวแพทย์ 3
    สพวค๘๐๓ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ ๑ 1
    สพวค๘๐๔ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ทางการสัตวแพทย์ ๒ 1
    สพวค๘๐๖ : สวัสดิภาพสัตว์ในงานวิจัย 1
    หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
       วิชาเอกเวชศาสตร์สัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน
    สพวค๘๑๐ : เวชศาสตร์สัตว์เล็ก ๑ 3
    สพวค๘๑๑ : เวชศาสตร์สัตว์เล็ก ๒ 3
    สพวค๘๑๒ : หัตถการคลินิกทางเวชศาสตร์การสัตวแพทย์ขั้นสูง 3
    สพวค๘๑๓ : ทักษะปฏิบัติทางอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์สัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน 3
       วิชาเอกเวชศาสตร์การผลิต
    สพวค๘๕๓ : ระบาดวิทยาทางด้านเวชศาสตร์คลินิกขั้นสูง 3
    สพวค๘๕๔ : กรณีศึกษาทางเวชศาสตร์การผลิต 1
    สพวค๘๘๐ : การจัดการสุขภาพและผลผลิต 3
    สพวค๘๘๑ : วิทยาการสืบพันธุ์และความไม่สมบูรณ์พันธุ์ 2
    สพวค๘๘๒ : โภชนศาสตร์สัตว์ขั้นสูง 3
       วิชาเอกพยาธิวิทยา
    สพปส๘๖๐ : แนวคิดปัจจุบันทางพยาธิวิทยา 2
    สพปส๘๖๑ : พยาธิวิทยาเฉพาะระบบขั้นสูง 2
    สพปส๘๖๒ : พยาธิวิทยาทางคลินิกขั้นสูง 2
    สพปส๘๖๓ : จุลกายวิภาคทางสัตวแพทย์และชีววิทยาของเซลล์ 3
    สพปส๘๖๔ : พยาธิวิทยาของโรคเนื้องอกในสัตว์ขั้นสูง 2
    สพปส๘๖๕ : สัมมนาทางพยาธิวิทยา 1
       วิชาเอกวิทยาการระบาด
    สพปส๘๓๐ : แนวคิดเชิงปฏิบัติวิทยาการระบาดทางสัตวแพทย์ 3
    สพวค๘๓๑ : การสอบสวนและเฝ้าระวังโรคสัตว์ 3
    สพวค๘๓๒ : ชีวสถิติเชิงวิทยาการระบาด 2
    สพวค๘๓๓ : บูรณาการสังคมศาสตร์และการสัตวแพทย์สาธารณสุข 2
    สพวค๘๓๔ : การจัดการข้อมูลเพื่องานสัตวแพทย์สาธารณสุข 2
    สพวค๘๓๘ : วิทยาการระบาดระดับโมเลกุลทางการสัตวแพทย์ 1
    หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
       วิชาเอกเวชศาสตร์สัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน
    สพวค๘๑๔ : ทักษะปฏิบัติในสัตว์เล็กทางเวชศาสตร์ฉุกเฉินและการดูแลสัตว์ป่วยวิกฤต 2
    สพวค๘๑๕ : ทักษะปฏิบัติทางวิสัญญีสัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๑๖ : ทักษะปฏิบัติทางศัลยศาสตร์เนื้อเยื่ออ่อนสัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๑๗ : ทักษะปฏิบัติทางออร์โทพีดิกส์สัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๑๘ : ทักษะปฏิบัติทางอายุรศาสตร์สัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๑๙ : ทักษะปฏิบัติทางประสาทวิทยาสัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๒๐ : ทักษะปฏิบัติทางหทัยวิทยาสัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๒๑ : ทักษะปฏิบัติทางจักษุวิทยาสัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๒๒ : ทักษะปฏิบัติทางตจวิทยาสัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๒๓ : ทักษะปฏิบัติทางวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๒๔ : ทักษะปฏิบัติทางทัศนวินิจฉัยสัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๒๕ : ทักษะปฏิบัติทางวิทยาเนื้องอกสัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๒๖ : ทักษะปฏิบัติทางทันตกรรมสัตว์เล็ก 2
    สพวค๘๔๐ : เวชศาสตร์การกีฬาม้า 3
    สพวค๘๔๑ : ออร์โธปิดิกส์ของม้า 3
    สพวค๘๔๒ : ศัลยศาสตร์อาการปวดเฉียบในม้า 3
    สพวค๘๔๓ : การวินิจฉัยโรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง 2
    สพวค๘๔๔ : กรณีศึกษาทางเวชศาสตร์ม้า 1
    สพวค๘๔๕ : ภาวะเจ็บหลังของม้า 2
    สพวค๘๔๖ : เวชศาสตร์ฟื้นฟูม้า 2
       วิชาเอกเวชศาสตร์การผลิต
    สพวค๘๕๕ : การใช้คลื่นเสียงความถี่สูงทางการสืบพันธุ์โคนม 2
    สพวค๘๕๗ : วิทยาภูมิคุ้มกันทางคลินิกในโคนม 1
    สพวค๘๕๘ : วิทยาต่อมไร้ท่อทางการสืบพันธุ์ในโคนม 1
    สพวค๘๘๓ : เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับระบบสืบพันธุ์ขั้นสูง 2
    สพวค๘๘๔ : ภูมิคุ้มกันวิทยาและพยาธิวิทยาทางระบบสืบพันธุ์เปรียบเทียบ 2
    สพวค๘๘๕ : การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสุขภาพฝูงสุกร 2
    สพวค๘๘๖ : การจัดการธุรกิจการเลี้ยงสุกรขั้นสูง 2
    สพวค๘๘๗ : เทคโนโลยีการผลิตวัคซีนสุกรขั้นสูง 2
    สพวค๘๘๘ : โรคสัตว์สู่คนที่มาจากสุกร 2
    สพวค๘๘๙ : วิทยาภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำ 2
    สพวค๘๙๐ : เวชศาสตร์สัตว์น้ำประยุกต์ 2
    สพวค๘๙๑ : โภชนศาสตร์สัตว์น้ำ 2
       วิชาเอกพยาธิวิทยา
    สพปส๘๖๖ : พยาธิวิทยาของโรคสัตว์ปีก 1
    สพปส๘๖๗ : พยาธิวิทยาของสัตว์ทดลอง 1
    สพปส๘๖๘ : พยาธิวิทยาของสัตว์น้ำ 1
    สพปส๘๖๙ : แนวคิดทางชีววิทยาระดับโมเลกุล 1
    สพปส๘๗๐ : ภูมิคุ้มกันวิทยาขั้นสูง 1
    สพปส๘๗๑ : พยาธิวิทยาระดับอิเล็กตรอน 1
    สพปส๘๗๒ : พยาธิวิทยาของสัตว์แปลก สัตว์ป่า และสัตว์สวนสัตว์ 1
    สพปส๘๗๓ : พยาธิวิทยาของปศุสัตว์ และสัตว์เลี้ยงเพื่อบริโภค 1
    สพปส๘๗๔ : พยาธิวิทยาของโรคสัตว์สู่คน 1
       วิชาเอกวิทยาการระบาด
    สพปส๘๓๕ : ภูมิสารสนเทศประยุกต์และการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ทางการสัตวแพทย์ 3
    สพวค๘๓๖ : แบบจำลองคณิตศาสตร์ทางการสัตวแพทย์และการสาธารณสุข 2
    สพวค๘๓๗ : วิทยาการระบาดทางการสัตวแพทย์เชิงนโยบายสาธารณะ 2
    สพวค๘๓๙ : การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมทางการสัตวแพทย์ 2
    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
    สพคร๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48

    อาจารย์ประจำหลักสูตร

    1. รองศาสตราจารย์ อนุวัตน์ วิรัชสุดากุล   (ประธานหลักสูตร)
    2. รองศาสตราจารย์ ชุติเพ็ญ บูรณะสินทรัพย์
    3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จารุญลักษณ์ จิรภัทรเศรษฐ์
    4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญรัตน์ จันทร์ทอง
    5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปารณีย์ ญาติมาก
    6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณฐารินทร์ งามวงศ์สถิต
    7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมเกียรติ ห้วยจันทึก
    8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จีรวัฒน์ สุนทรสิต
    9. อาจารย์ มุกมนี ตันสกุล
    10. อาจารย์ รศชงค์ บุณยฤทธิชัยกิจ
    11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศักดิโชติ คิมสกุลเวช
    12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดุสิต เลาหสินณรงค์
    13. รองศาสตราจารย์ กัมพล แก้วเกษ
    14. รองศาสตราจารย์ จิตรกมล ธนศักดิ์
    15. รองศาสตราจารย์ บรรลือ กรมาทิตย์สุข
    16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนกอร เอื้อเกษมสิน แอนตร้าดรึ รึคิชะ ฟึเร้ยระ
    17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรรณา ศิริมานะพงษ์
    18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิธร รุ่งอรุณเลิศ
    19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริญ สุวรรณประภา
    20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทวีวัลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
    21. รองศาสตราจารย์ พนิดา ชนาภิวัตน์
    22. รองศาสตราจารย์ วลาสินี ศักดิ์คำดวง
    23. รองศาสตราจารย์ วิทวัช วิริยะรัตน์
    24. รองศาสตราจารย์ สุกัญญา มณีอินทร์
    25. รองศาสตราจารย์ สุขฤทัย บุญมาไสว
    26. รองศาสตราจารย์ สุดสายใจ กรมาทิตย์สุข
    27. อาจารย์ กฤษฎา ใจชื้น
    28. รองศาสตราจารย์ ธนศักดิ์ ช่างบรรจง
    29. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นรสุทธิ์ บางภูมิ
    30. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นลิน อารียา
    31. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรินทร์ สุวรรณภักดี
    32. รองศาสตราจารย์ ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์
    33. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดวงทิพย์ ฉัตรชัยศักดิ์
    34. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น้ำผึ้ง สื่อมโนธรรม
    35. อาจารย์ สินีนาถ เจียมทวีบุญ
    36. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นวรัตน์ ประไพวรรณ
    37. อาจารย์ พจนา วรรธนะนิตย์
    38. อาจารย์ รวงรัตน์ พุทธิรงควัตร