เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   29   มีนาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตตปัญญาศึกษา (ภาคพิเศษ)

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา
เว็บไซต์ http://www.ce.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(จิตตปัญญาศึกษา)

จุดเด่นของหลักสูตร

๑. เป็นหลักสูตรเดียวในประเทศไทย ที่เปิดสอนสาขาดังกล่าวในระดับปริญญาโท ๒. เป็นหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นจากองค์ความรู้เชิงจิตวิญญาณที่แท้และไม่สังกัดศาสนาหรือความเชื่อเฉพาะ ทางใด ๆ

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในทุกสาขาวิชาจากสถาบันการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓. มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย
๔. มีประสบการณ์ในการทำงานหลังสำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี ไม่ต่ำกว่า ๒ ปี
๕. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

๑ กระบวนกร ผู้สร้างกระบวนการเรียนรู้แนวจิตตปัญญาศึกษา ให้แก่องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งวงการศึกษา การสาธารณสุข อาชีพอิสระด้านจิตตปัญญาศึกษาหรือเป็นผู้ฝึกอบรมประจำองค์กร
๒ ผู้ให้การดูแลทางจิตใจ จิตวิญญาณ แก่ผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุที่ทำงานกับองค์กรทางสาธารณสุข หรือโรงพยาบาล หรือสถานบริบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
๓ ผู้ประกอบการทางสังคมหรือนักขับเคลื่อนสังคมที่มุ่งทำงานจากฐานรากและการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของสังคม
๔ อาชีพอิสระด้านจิตตปัญญาศึกษา
๕ ผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ ตามสาขาอาชีพเดิมของตนเอง พร้อมด้วยทักษะ ประสบการณ์ และศักยภาพทางจิตตปัญญาศึกษา

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
จศจศ๕๐๐ : ธรรมชาติแห่งโลกและชีวิต 3
จศจศ๕๐๑ : ศิลปะแห่งการจัดกระบวนการจิตตปัญญา ๑ 3
จศจศ๕๐๓ : จิตวิญญาณเพื่อสังคม 3
จศจศ๕๑๑ : ภูมิปัญญาบรรพกาลและจิตวิญญาณร่วมสมัย 3
จศจศ๕๒๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๑ 3
จศจศ๕๒๔ : สัมมนาทางจิตตปัญญาศึกษา 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
จศจศ๕๐๒ : ศิลปะแห่งการจัดกระบวนการจิตตปัญญา ๒ 3
จศจศ๕๐๖ : ภาวนา ๑ 1
จศจศ๕๐๗ : ภาวนา ๒ 1
จศจศ๕๒๑ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒ 3
จศจศ๕๒๒ : ภาวนา ๓ 1
จศจศ๕๒๓ : ภาวนา ๔ 3
จศจศ๕๒๕ : การเรียนรู้และการศึกษาที่แท้ 3
จศจศ๕๒๖ : สื่อสารศิลป์เพื่อการเปลี่ยนแปลง 3
จศจศ๕๒๗ : โครงการสื่อสารศิลป์เพื่อการเปลี่ยนแปลง 3
จศจศ๕๒๘ : แนวคิดของชีวิตและความตาย 3
จศจศ๕๒๙ : จิตตภาวนากับการเยียวยารักษาจิตใจ 3
จศจศ๕๓๐ : ปฏิบัติการจิตตปัญญาศึกษาเพื่อสังคม 3
จศจศ๕๓๑ : จิตตศิลป์ 1
จศจศ๕๓๒ : นพลักษณ์และการเติบโตทางจิตวิญญาณ 1
จศจศ๕๓๓ : งานวิจัยเรื่องเล่า 1
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
จศจศ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
จศจศ๕๐๐ : ธรรมชาติแห่งโลกและชีวิต 3
จศจศ๕๐๑ : ศิลปะแห่งการจัดกระบวนการจิตตปัญญา ๑ 3
จศจศ๕๐๓ : จิตวิญญาณเพื่อสังคม 3
จศจศ๕๑๑ : ภูมิปัญญาบรรพกาลและจิตวิญญาณร่วมสมัย 3
จศจศ๕๒๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๑ 3
จศจศ๕๒๔ : สัมมนาทางจิตตปัญญาศึกษา 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
จศจศ๕๐๒ : ศิลปะแห่งการจัดกระบวนการจิตตปัญญา ๒ 3
จศจศ๕๐๖ : ภาวนา ๑ 1
จศจศ๕๐๗ : ภาวนา ๒ 1
จศจศ๕๒๑ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒ 3
จศจศ๕๒๒ : ภาวนา ๓ 1
จศจศ๕๒๓ : ภาวนา ๔ 3
จศจศ๕๒๕ : การเรียนรู้และการศึกษาที่แท้ 3
จศจศ๕๒๖ : สื่อสารศิลป์เพื่อการเปลี่ยนแปลง 3
จศจศ๕๒๗ : โครงการสื่อสารศิลป์เพื่อการเปลี่ยนแปลง 3
จศจศ๕๒๘ : แนวคิดของชีวิตและความตาย 3
จศจศ๕๒๙ : จิตตภาวนากับการเยียวยารักษาจิตใจ 3
จศจศ๕๓๐ : ปฏิบัติการจิตตปัญญาศึกษาเพื่อสังคม 3
จศจศ๕๓๑ : จิตตศิลป์ 1
จศจศ๕๓๒ : นพลักษณ์และการเติบโตทางจิตวิญญาณ 1
จศจศ๕๓๓ : งานวิจัยเรื่องเล่า 1
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
จศจศ๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6