ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | โครงการร่วม คณะวิทยาศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน |
เว็บไซต์ |
http://www.sc.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เวชศาสตร์ระดับโมเลกุล)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
Plan 1: Research only Plan 1.1: For students with a master's degree 1) Holding a Master's Degree or equivalent in Biological, Biomedical, Health Sciences or other related fields 2) Have cumulative GPA not less than 3.50 3) Have and English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies 4) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies 5) Applicants must have at least one first-authored publication in an international peer-reviewed journal. 6) Qualifications different from 2) - 4) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies Plan 2: Coursework and research Plan 2.1: For students with a master's degree 1) Holding a Master's Degree or equivalent in Biological, Biomedical, Health Sciences or other related fields 2) Have cumulative GPA not less than 3.50 3) Have and English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies 4) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies 5) Qualifications different from 2) - 4) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies Plan 2.2: For students with a bachelor's degree 1) Holding a Bachelor's Degree or equivalent in Biological, Biomedical, Health Sciences or other related fields 2) Have cumulative GPA not less than 3.50 3) Have and English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies 4) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies 5) Qualifications different from 2) - 4) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies
โครงสร้างหลักสูตร
แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 8 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 4 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 14 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 10 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. A specialist, researcher, and consultant in the field of molecular medicine in both national and international public or private sector 2. A researcher and academician specializing in innovative molecular medicine
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 1
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทคร๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
แบบ 2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 3 | ||
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ | 2 | ||
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ | 3 | ||
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทคร๕๒๑ : เนื้อหาสาระสำคัญและนวัตกรรมทางเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล | 3 | ||
วทคร๖๒๑ : สัมมนาเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล | 1 | ||
วทคร๖๒๗ : สัมมนาวิทยานิพนธ์เวชศาสตร์ระดับโมเลกุล | 1 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ | 2 | ||
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทคร๕๒๑ : เนื้อหาสาระสำคัญและนวัตกรรมทางเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล | 3 | ||
วทคร๖๒๑ : สัมมนาเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล | 1 | ||
วทคร๖๒๗ : สัมมนาวิทยานิพนธ์เวชศาสตร์ระดับโมเลกุล | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
บฑคร๕๒๑ : จริยธรรมการวิจัย | 1 | ||
รมพธ๖๓๗ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการมนุษย์พันธุศาสตร์ขั้นสูง | 2 | ||
รมพธ๖๕๑ : ความรู้ทางมะเร็งวิทยาระดับโมเลกุลขั้นสูง | 2 | ||
รมพธ๖๗๐ : ความรู้ทางมนุษย์พันธุศาสตร์ขั้นสูง | 2 | ||
รมวป๕๑๑ : พื้นฐานระดับโมเลกุลของโรคที่เกิดกับมนุษย์ | 3 | ||
วทกว๖๐๗ : ชีววิทยาโครงสร้างและจุลทรรศน์ขั้นสูง | 2 | ||
วทกว๖๒๐ : หัวข้อคัดสรรทางประสาทวิทยาศาสตร์ระดับเซลล์ | 1 | ||
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล | 2 | ||
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ | 1 | ||
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี | 1 | ||
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร | 1 | ||
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน | 1 | ||
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน | 1 | ||
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน | 1 | ||
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ | 1 | ||
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ | 1 | ||
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ | 3 | ||
วทจว๖๐๒ : วิทยาภูมิคุ้มกันขั้นสูง | 3 | ||
วทจว๖๐๓ : ปรสิตวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
วทจว๖๐๔ : วิทยาไวรัสขั้นสูง | 3 | ||
วทชค๖๑๗ : ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาระบบระดับโมเลกุล | 2 | ||
วทพษ๖๐๔ : พิษวิทยาระดับโมเลกุลและระดับพันธุกรรม | 2 | ||
วทภส๕๐๒ : หลักการออกฤทธิ์ของยา | 2 | ||
วทภส๕๒๒ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๒ | 2 | ||
วทภส๖๑๗ : การวิจัยและนวัตกรรมทางเภสัชวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
ศรวภ๖๑๑ : วิทยาภูมิคุ้มกันระดับโมเลกุล | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทคร๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทคร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ พรทิพย์ ชัยชมภู (ประธานหลักสูตร)
- ศาสตราจารย์ ประเสริฐ เอื้อวรากุล
- ศาสตราจารย์ ธีรพงษ์ กระแจะจันทร์
- รองศาสตราจารย์ นราวุฒิ ภาคาพรต
- รองศาสตราจารย์ สุรางค์ ชาญกำแหงเดชา
- รองศาสตราจารย์ เสาวรส สวัสดิวัฒน์
- รองศาสตราจารย์ เจริญศรี ธนบุญสมบัติ
- รองศาสตราจารย์ เพิ่มพันธุ์ ธรรมสโรช
- รองศาสตราจารย์ กรกมล เลิศสุวรรณ
- รองศาสตราจารย์ หทัยทิพย์ ศรีธนอุดมชัย
- รองศาสตราจารย์ สิรดา ศรีหิรัญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ioannis D. Papadimitriou
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พัชริยา พรรณศิลป์
- ศาสตราจารย์ Duncan Richard Smith
- รองศาสตราจารย์ นพวรรณ ภู่มาลา มอราเลส
- รองศาสตราจารย์ พรพรรณ วิวิธนาภรณ์
- รองศาสตราจารย์ อรภัค เรี่ยมทอง
- ศาสตราจารย์ ลาเรน เจนเซน
- รองศาสตราจารย์ อมรรัตน์ นรานันทรัตน์ เจนเซน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรเดช ศิริพัฒนพิพงษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มรกต สร้อยระย้า
- รองศาสตราจารย์ เมธิจิต วัฒนพานิช
- อาจารย์ กิตติพงศ์ ไพบูลย์สุขวงศ์
- รองศาสตราจารย์ ปฐมพล วงศ์ตระกูลเกตุ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เดือนธิดา ทรงเดช
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธิตินันท์ กิติสิน
- ศาสตราจารย์ มัลลิกา อิ่มวงศ์
- รองศาสตราจารย์ พรพรรณ ภูมิรัตน์
- ศาสตราจารย์ ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง
- ศาสตราจารย์ ศราวุฒิ จิตรภักดี
- อาจารย์ รัชนีวรรณ เอี่ยมลาภะ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุคนธา งามประมวญ
- รองศาสตราจารย์ ณฐมน โกศลธนาภิวัฒน์
- รองศาสตราจารย์ อุษา บุญยืน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรรษกร ตันรัตนะ
- อาจารย์ อุทิศ สุริยา
- รองศาสตราจารย์ ไกร มีมล
- ศาสตราจารย์ นรัตถพล เจริญพันธุ์
- ศาสตราจารย์ ภัสเนศวร์ สุขโพธิ์เพชร
- ศาสตราจารย์ พรทิพย์ เพ็ชรมิตร
- รองศาสตราจารย์ ณัฐวุธ สิบหมู่
- รองศาสตราจารย์ มุทิตา จุลกิ่ง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ลดาวัลย์ โควาวิเศษสุต
- รองศาสตราจารย์ เกษม กุลแก้ว
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณิต ภู่ไข่
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภริณดา ทยานุกูล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐพล ภาณุพินธุ