เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันเสาร์ที่   20   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน โครงการร่วม คณะวิทยาศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เวชศาสตร์ระดับโมเลกุล)

จุดเด่นของหลักสูตร


- จุดเด่นไทย

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

แบบ ๑
(๑) สำเร็จการศึกษาหรือกำลังศึกษาอยู่ภาคการศึกษาสุดท้าย หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต 
สาขาชีววิทยา วิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม
ไม่ต่ำกว่า ๓.๒๕ หรือ
(๒) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม
ไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือ
(๓) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต หรือทันตแพทยศาสตรบัณฑิต  โดยได้แต้ม
ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ หรือ
(๔) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต หรือสัตวแพทยศาสตร์ โดยได้แต้มระดับ
คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๒๕ หรือ
(๕) กำลังศึกษาอยู่โครงการผลิตอาจารย์แพทย์ หรือโครงการผลิตอาจารย์ทันตแพทย์ ต้องมีแต้มระดับ
คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า ๓.๐๐ ที่ได้รับอนุมัติให้เข้าศึกษาในหลักสูตรนี้ โดยประธานหลักสูตร
และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
(๖) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก
เข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

แบบ ๒	
(๑) สำเร็จการศึกษาหรือกำลังศึกษาอยู่ภาคการศึกษาสุดท้าย หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต 
สาขาชีววิทยา วิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม
ไม่ต่ำกว่า ๓.๒๕ หรือ
(๒) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม
ไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือ
(๓) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต หรือทันตแพทยศาสตรบัณฑิต  โดยได้แต้ม
ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ หรือ
(๔) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต หรือสัตวแพทยศาสตร์  โดยได้แต้มระดับ
คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๒๕ หรือ
(๕) กำลังศึกษาอยู่โครงการผลิตอาจารย์แพทย์ หรือโครงการผลิตอาจารย์ทันตแพทย์ ต้องมีแต้ม
ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า ๓.๐๐ ที่ได้รับอนุมัติให้เข้าศึกษาในหลักสูตรนี้ โดยประธาน
หลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
(๖) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก
เข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

สำหรับผู้จบปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 11            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 13            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
สำหรับผู้จบปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 10            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้เชี่ยวชาญทางเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล นักวิจัย ที่ปรึกษาในองค์กรของรัฐหรือเอกชน ระดับชาติหรือ นานาชาติ
- นักวิจัยผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์ หรือเครื่องมือในองค์กร ของรัฐหรือบริษัทของเอกชน
- เจ้าของบริษัทหรือองค์กรที่จำเป็นต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วทคร๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48
วทคร๘๙๙ : วิทยานิพนธ์ 72

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทคร๕๑๙ : เนื้อหาพิเศษเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล 3
วทคร๖๒๔ : สัมมนาเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล ๑ 1
วทคร๖๒๕ : เวชศาสตร์ระดับโมเลกุลสัมมนา ๒ 1
วทคร๖๒๖ : เวชศาสตร์ระดับโมเลกุลสัมมนา ๓ 1
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทคร๕๑๙ : เนื้อหาพิเศษเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล 3
วทคร๖๒๔ : สัมมนาเวชศาสตร์ระดับโมเลกุล ๑ 1
วทคร๖๒๕ : เวชศาสตร์ระดับโมเลกุลสัมมนา ๒ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทจว๖๐๒ : วิทยาภูมิคุ้มกันขั้นสูง 3
วทจว๖๐๓ : ปรสิตวิทยาขั้นสูง 3
วทจว๖๐๔ : วิทยาไวรัสขั้นสูง 3
วทพย๖๐๑ : พยาธิวิทยาระดับเซลล์ ๑ 2
วทพษ๖๐๑ : พิษวิทยาระดับโมเลกุล 3
วทภส๖๑๑ : เภสัชวิทยาขั้นสูง 3
วทสร๖๓๑ : สรีรวิทยาเชิงระบบ 4
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทจว๖๐๒ : วิทยาภูมิคุ้มกันขั้นสูง 3
วทจว๖๐๓ : ปรสิตวิทยาขั้นสูง 3
วทจว๖๐๔ : วิทยาไวรัสขั้นสูง 3
วทพย๖๐๑ : พยาธิวิทยาระดับเซลล์ ๑ 2
วทพษ๖๐๑ : พิษวิทยาระดับโมเลกุล 3
วทภส๖๑๑ : เภสัชวิทยาขั้นสูง 3
วทสร๖๓๑ : สรีรวิทยาเชิงระบบ 4
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วทคร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
วทคร๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48

อาจารย์ประจำหลักสูตร