เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพุธที่   24   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการระบาดทางการแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน โครงการร่วม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
เว็บไซต์ https://www.rama.mahidol.ac.th/ceb/

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาการระบาดทางการแพทย์)

วิชาเอก

  • วิชาเอกวิทยาการระบาดทางคลินิก
  • วิชาเอกวิทยาการระบาดชุมชน
  • คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

    1) Holding a Bachelor's degree or equivalent in Medicine, Pharmacy, Dentistry or other related fields
    2) Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies
    3) Qualifications different from 2) may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

    โครงสร้างหลักสูตร

    แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์)
    หมวดวิชาแกน 9            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 11            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
    รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

    อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

    Researcher in
    1. Clinical Epidemiology
    2. Community Epidemiology
    Expert in 
    1. Clinical Epidemiology
    2. Community Epidemiology

    รายวิชาในหลักสูตร

    แผน ก แบบ ก2

    หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
    รมรค๖๑๑ : วิทยาการระบาดคลินิกและเวชปฏิบัติอิงหลักฐาน 3
    รมรค๖๒๒ : รูปแบบการศึกษาและการวัดทางวิทยาการระบาดคลินิก 3
    รมรพ๖๒๑ : สัมมนาวิทยาการระบาดทางการแพทย์ 1
    รมรพ๖๒๕ : สถิติทางการแพทย์ในการวิจัยคลินิก 2
    หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
       วิชาเอกวิทยาการระบาดคลินิก
    รมรค๖๐๓ : การออกแบบโครงร่างงานวิจัย 2
    รมรค๖๒๖ : การวิเคราะห์สถิติทางการวิจัยคลินิกขั้นสูง 3
    รมรพ๖๐๗ : เศรษฐศาสตร์คลินิก 2
    รมรพ๖๑๘ : การทบทวนอย่างเป็นระบบและอภิวิเคราะห์ 2
    รมรพ๖๒๔ : สารสนเทศทางการวิจัยและการจัดการข้อมูล 2
       วิชาเอกวิทยาการระบาดชุมชน
    วขสข๕๑๗ : วิธีทางสถิติในวิทยาการระบาดเชิงพื้นที่ 2
    วขสข๕๒๘ : การเฝ้าระวังโรคและการสืบสวนทางสาธารณสุข 2
    สศรบ๖๐๓ : การศึกษาทางวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ 3
    สศรบ๖๖๖ : การฝึกปฏิบัติภาคสนามทางการควบคุมโรคประจำถิ่น 2
    หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
    รมขส๖๐๒ : การทำเหมืองข้อมูลและการค้นพบความรู้ 2
    รมขส๖๐๕ : การเรียนรู้ของเครื่องสมัยใหม่ 2
    รมขส๖๒๑ : ระบบธุรกิจอัจฉริยะ 2
    รมขส๖๒๒ : การประมวลผลรูปภาพทางการแพทย์ 2
    รมขส๖๒๓ : การประมวลผลภาษาธรรมชาติ 2
    รมขส๖๒๔ : การประมวลผลสัญญาณ 2
    รมรค๖๐๘ : สังคมศาสตร์ในเวชปฏิบัติและการวิจัย 2
    รมรค๖๑๗ : การศึกษาทดลองแบบสุ่มควบคุม 2
    รมรค๖๑๙ : ระบาดวิทยาทางพันธุศาสตร์ ๑ 2
    รมรค๖๒๐ : ระบาดวิทยาทางพันธุศาสตร์ ๒ 2
    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
    รมรพ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

    อาจารย์ประจำหลักสูตร

    1. รองศาสตราจารย์ ศศิวิมล รัตนสิริ   (ประธานหลักสูตร)
    2. ศาสตราจารย์ อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร
    3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชูศักดิ์ โอกาศเจริญ
    4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐนารี เอมยงค์
    5. รองศาสตราจารย์ อรลักษณ์ พัฒนาประทีป
    6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปวิน นำธวัช
    7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กุลวัตร ธาดานิพนธ์
    8. ศาสตราจารย์ อติพร อิงค์สาธิต
    9. ศาสตราจารย์ ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์
    10. ศาสตราจารย์ ดิเรก ลิ้มมธุรสกุล
    11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรุงไทย เดชเทวพร
    12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิชช์ เกษมทรัพย์
    13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภารี บุญมานันท์
    14. อาจารย์ สันต์ สุวรรณมณี
    15. รองศาสตราจารย์ ประภาพร พรสุริยะศักดิ์
    16. รองศาสตราจารย์ ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี