เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันจันทร์ที่   20   พฤษภาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการพืช (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน โครงการร่วม คณะวิทยาศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาการพืช)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

6.1 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 
เช่น พฤกษศาสตร์ ชีววิทยา เทคโนโลยีชีวภาพ เภสัชศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
6.2 ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50
6.3 ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวอาจได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้สมัครเข้า
ศึกษาตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 12            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 13            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 37            หน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
วทพฤ๕๖๒ : วิทยาการพืชบูรณาการ 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทพฤ๕๐๑ : พฤกษอนุกรมวิธานขั้นสูง 3
   กลุ่มเทคโนโลยีการอนุรักษ์และปรับปรุงพันธุ์พืช
วทพฤ๕๐๑ : พฤกษอนุกรมวิธานขั้นสูง 3
หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
ภกภพ๖๐๓ : พืชสมุนไพร 3
ภกภพ๖๑๔ : สัมมนาวิทยาการพืช ๒ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทพฤ๖๗๒ : สัมมนาทางวิทยาการพืช ๑ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทคร๕๓๑ : การประยุกต์คอมพิวเตอร์ 3
วทคร๕๓๒ : การเขียนโปรแกรม 3
วทคร๕๓๓ : การประมวลผลข้อมูล 3
   กลุ่มชีววิทยาระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์พืช
วททช๖๐๒ : การควบคุมการแสดงออกของยีน 3
วททช๖๐๗ : เทคโนโลยีขั้นสูงเกี่ยวกับเซลล์ของพืชและเซลล์ของสัตว์ 3
วทพฤ๕๒๑ : พันธุศาสตร์ของเซลล์พืช 3
วทพฤ๕๒๒ : ชีววิทยาระดับโมเลกุลของพืชขั้นสูง 3
วทพฤ๕๒๓ : เทคนิคทางชีววิทยาระดับโมเลกุลของพืช 3
วทพฤ๕๖๑ : วิทยาไวรัสของพืช 3
วทพฤ๕๗๑ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางวิทยาการพืช 2
วทพฤ๖๒๑ : พันธุศาสตร์ของพืชขั้นประยุกต์ 2
วทพฤ๖๗๑ : ปัญหาพิเศษทางวิทยาการพืช 2
   กลุ่มเทคโนโลยีการอนุรักษ์และปรับปรุงพันธุ์พืช
วทพฤ๕๐๒ : พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน 3
วทพฤ๕๐๓ : ชีววิทยาเรณู 3
วทพฤ๕๒๓ : เทคนิคทางชีววิทยาระดับโมเลกุลของพืช 3
วทพฤ๕๒๔ : การกลายพันธุ์ในพืช 3
วทพฤ๕๔๑ : การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชขั้นสูง 3
วทพฤ๕๔๒ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชขั้นสูง 1
วทพฤ๕๗๑ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางวิทยาการพืช 2
วทพฤ๖๗๑ : ปัญหาพิเศษทางวิทยาการพืช 2
   กลุ่มเภสัชพฤกษศาสตร์
ภกคร๖๗๔ : ปัญหาเฉพาะ ๑ 2
ภกคร๖๗๕ : ปัญหาเฉพาะ ๒ 2
ภกคร๖๙๕ : เทคโนโลยีชีวภาพประยุกต์ด้านพืชทางเภสัชศาสตร์ 3
ภกภพ๖๐๑ : การแพทย์แผนไทย 3
ภกภพ๖๐๒ : ธุรกิจสมุนไพรในตลาดโลก 3
ภกภพ๖๐๔ : พฤกษศาสตร์พื้นบ้านทางการแพทย์ 3
ภกภพ๖๐๖ : กฎหมายเกี่ยวกับพืช 3
ภกภพ๖๐๗ : การพัฒนายาจากสมุนไพร 3
ภกภพ๖๐๘ : การใช้คอมพิวเตอร์จัดทำฐานข้อมูลพืช 3
ภกภพ๖๐๙ : การปรับปรุงพันธุ์พืชสมุนไพร 3
ภกภพ๖๑๐ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางเภสัชพฤกษศาสตร์ 2
ภกภพ๖๑๑ : ทัศนะทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการใช้ยาและสมุนไพร 3
ภกภพ๖๑๓ : พฤกษศาสตร์พื้นบ้านทางการแพทย์ภาคสนาม 3
   กลุ่มสรีรวิทยาพืช
วทคร๕๐๕ : นิเวศวิทยาเชิงระบบและอุบัติการโรค 3
วทพฤ๕๑๑ : สารควบคุมทางชีววิทยาของพืช 3
วทพฤ๕๔๓ : พฤกษเคมีขั้นสูง 3
วทพฤ๕๗๑ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางวิทยาการพืช 2
วทพฤ๖๗๑ : ปัญหาพิเศษทางวิทยาการพืช 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
ภกภพ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12
วทพฤ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

อาจารย์ประจำหลักสูตร