ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์ (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | โครงการร่วม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สถาบันโภชนาการ |
เว็บไซต์ |
http://www.inmu.mahidol.ac.th/th/academics/curriculum/index.php http://med.mahidol.ac.th/nutrition |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(โภชนศาสตร์)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาใดสาขาหนึ่งด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ แพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต พยาบาลศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง ๒. กรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ๓. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ๔. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ๕. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ ๓ และข้อ ๔ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิจัย นักวิชาการด้านโภชนศาสตร์ ในสถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย และโรงพยาบาล
- นักโภชนาการในโรงพยาบาล สถาบันสุขภาพ สถานบริการอาหาร สถานออกกำลังกาย หรือกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ
- ที่ปรึกษา ผู้บริหารองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน หน่วยงานวิจัย และหน่วยงานส่งเสริมสุขภาพ
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
รมภศ501 : พื้นฐานโภชนชีววิทยาและชีวเคมี | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
รมภศ๕๐๒ : โภชนาการกับโรค | 2 | ||
รมภศ๕๐๓ : การสื่อสารโภชนาการ | 2 | ||
รมภศ๕๐๔ : การศึกษาโดยใช้ปัญหาทางโภชนาการเป็นฐาน | 2 | ||
รมภศ๕๐๕ : สัมมนาทางโภชนศาสตร์ | 2 | ||
รมภศ๕๐๖ : โภชนศาสตร์ระดับโมเลกุล | 1 | ||
สภภศ๕๐๑ : วิทยาศาสตร์โภชนาการ | 3 | ||
สภภศ๕๐๒ : ชีวสถิติทางโภชนาการ | 2 | ||
สภภศ๕๐๓ : การประเมินทางโภชนาการ | 2 | ||
สภภศ๕๐๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางโภชนาการ | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
กลุ่มโภชนาการคลินิก | |||
รมภศ๕๐๗ : การดูแลโภชนาการทางเวชปฏิบัติ ๑ | 3 | ||
รมภศ๕๐๘ : การดูแลโภชนาการทางเวชปฏิบัติ ๒ | 3 | ||
รมภศ๕๐๙ : ประเด็นสำคัญสำหรับนักโภชนาการ | 1 | ||
รมภศ๕๑๐ : แผนบริการด้านโภชนาการ | 2 | ||
รมภศ๕๑๑ : ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพสำหรับการประเมินภาวะโภชนาการทางการวิจัยคลินิกและโภชนาการมนุษย์ | 3 | ||
สภภศ๕๐๕ : โภชนเภสัชและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร | 2 | ||
กลุ่มโภชนาการเชิงการทดลองและชีวเคมี | |||
สภภศ๕๐๖ : เครื่องมือและวิธีการวิเคราะห์ทางอาหารและโภชนาการ | 3 | ||
สภภศ๕๐๗ : การวิเคราะห์สารพิษในอาหารและการทดสอบสารที่เป็นพิษ | 2 | ||
สภภศ๕๐๘ : การประยุกต์เทคนิคระดับเซลล์และโมเลกุลทางอาหารและโภชนาการ | 2 | ||
สภภศ๕๐๙ : บทบาทและหน้าที่ของสารอาหาร และสารออกฤทธิ์ชีวภาพในอาหาร | 3 | ||
สภภศ๕๑๐ : เทคนิคพิเศษในการวิเคราะห์สารอาหารและสารพฤกษเคมี | 3 | ||
สภภศ๕๑๑ : เทคนิคพิเศษทางการประเมินปริมาณและประสิทธิผลของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ | 2 | ||
สภภศ๕๑๒ : โภชนาการทดลองในสัตว์ทดลอง | 2 | ||
กลุ่มโภชนาการชุมชน | |||
รมภศ๕๑๖ : การดูแลทางโภชนาการสำหรับโรคที่พบบ่อยในชุมชน | 2 | ||
สภภศ๕๑๓ : โภชนาการชุมชน | 3 | ||
สภภศ๕๑๔ : ระบาดวิทยาทางโภชนาการ | 2 | ||
กลุ่มโภชนาการระดับโมเลกุล | |||
รมภศ๕๑๒ : ผลกระทบของภาวะเครียดออกซิเดชันและสารต้านอนุมูลอิสระด้านสุขภาพและโรค | 3 | ||
รมภศ๕๑๓ : อาหารและสุขภาพ-กลไกระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์ | 3 | ||
รมภศ๕๑๔ : สารซีโนไบโอติกทางสุขภาพและการเกิดโรค | 3 | ||
รมภศ๕๑๕ : ประเด็นปัจจุบันทางโภชนศาสตร์ระดับโมเลกุล | 1 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
รมภส๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ จินตนา ศิริวราศัย (ประธานหลักสูตร)
- อาจารย์ อารีย์ ประจันสุวรรณ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวัลพัชร เมืองน้อย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุวภัทร กิตติบัญชากุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนัชพร นุตมากุล
- อาจารย์ นรีรัตน์ สุจริต
- รองศาสตราจารย์ มธุรส ทิพยมงคลกุล
- รองศาสตราจารย์ ชนิพรรณ บุตรยี่
- รองศาสตราจารย์ วันทนีย์ เกรียงสินยศ
- รองศาสตราจารย์ ครรชิต จุดประสงค์
- อาจารย์ ปรารถนา ตปนีย์
- ศาสตราจารย์ ฉัตรชัย เหมือนประสาท
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตร
- รองศาสตราจารย์ เอกราช เกตวัลห์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ
- อาจารย์ นิธิ อัศวภาณุมาศ
- รองศาสตราจารย์ ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริย พรรณเชษฐ์
- รองศาสตราจารย์ ณัฐิรา อ่อนน้อม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐภูมิ ปฐมทองทวีชัย
- รองศาสตราจารย์ กิตติ สรณเจริญพงศ์
- รองศาสตราจารย์ ชลัท ศานติวรางคณา
- รองศาสตราจารย์ วรางคณา ศรีจำนงค์
- รองศาสตราจารย์ เชาวนี ชูพีรัชน์
- รองศาสตราจารย์ อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์
- รองศาสตราจารย์ มลฤดี สุขประสารทรัพย์
- รองศาสตราจารย์ วราภรณ์ เสถียรนพเก้า
- ศาสตราจารย์ นพวรรณ เปียซื่อ
- อาจารย์ ฐนิต วินิจจะกูล
- รองศาสตราจารย์ กุลพงษ์ ชัยนาม
- รองศาสตราจารย์ ประพิมพ์พร ฉัตรานุกูลชัย (ฉันทวศินกุล)
- รองศาสตราจารย์ ธัญญ์นลิน วิญญูประสิทธิ์
- อาจารย์ เคนจิโร่ มูต้า
- รองศาสตราจารย์ ดุลยพร ตราชูธรรม
- รองศาสตราจารย์ ปิยะ เต็มวิริยะนุกูล