ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | โครงการร่วม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สถาบันโภชนาการ |
เว็บไซต์ |
http://www.inmu.mahidol.ac.th/th/academics/curriculum/index.php http://med.mahidol.ac.th/nutrition |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(โภชนศาสตร์)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพหรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ ๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย ๔. กรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ๕. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ ๒ - ๔ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 3 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิจัย หรือนักวิชาการ โรงพยาบาล สถาบันวิจัย หรือสถาบันอุดมศึกษา
- นักโภชนาการในโรงพยาบาล สถาบันสุขภาพ สถานบริการอาหาร สถานออกกำลังกาย หรือกระทรวงสาธารณสุข
- ที่ปรึกษาองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน หน่วยงานส่งเสริมสุขภาพ
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
รมภศ๖๐๐ : เมแทบอลิซึมและกลไกระดับโมเลกุลทางโภชนาการ | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
รมภศ๖๐๒ : วิทยาศาสตร์โภชนาการขั้นสูง | 3 | ||
รมภศ๖๓๒ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตทางโภชนศาสตร์ | 3 | ||
สภภศ๖๐๑ : ระเบียบวิธีวิจัยประยุกต์ทางโภชนาการ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
รมภศ๖๐๕ : โภชนาการคลินิกขั้นสูง | 3 | ||
รมภศ๖๐๖ : โภชนพันธุศาสตร์ทางการวิจัยโภชนาการ | 3 | ||
รมภศ๖๐๗ : โภชนาการทันสมัยด้านสุขภาพและการเกิดโรค | 3 | ||
รมภศ๖๑๐ : ไขมันและไลโปโปรตีนในการเกิดโรค | 2 | ||
รมภศ๖๓๓ : พิษวิทยาโภชนาการขั้นสูง | 3 | ||
รมภศ๖๕๕ : โภชนาการในผู้สูงอายุ | 3 | ||
รมภศ๖๕๖ : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพและการป้องกันโรค | 3 | ||
สภภศ๖๐๒ : การประยุกต์ไอโซโทปเสถียรทางอาหารและโภชนาการ | 3 | ||
สภภศ๖๐๓ : โภชนาการเชิงสาธารณะเพื่อสุขภาพ | 2 | ||
สภภศ๖๐๔ : การประเมินความเสี่ยงความปลอดภัยอาหารและโภชนาการ | 2 | ||
สภภศ๖๓๘ : การประยุกต์การศึกษาในหลอดทดลองและสัตว์ทดลองทางการวิจัยอาหารและโภชนาการ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
รมภศ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ จินตนา ศิริวราศัย (ประธานหลักสูตร)
- อาจารย์ อารีย์ ประจันสุวรรณ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวัลพัชร เมืองน้อย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุวภัทร กิตติบัญชากุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนัชพร นุตมากุล
- อาจารย์ นรีรัตน์ สุจริต
- รองศาสตราจารย์ มธุรส ทิพยมงคลกุล
- รองศาสตราจารย์ ชนิพรรณ บุตรยี่
- รองศาสตราจารย์ วันทนีย์ เกรียงสินยศ
- รองศาสตราจารย์ ครรชิต จุดประสงค์
- อาจารย์ ปรารถนา ตปนีย์
- ศาสตราจารย์ ฉัตรชัย เหมือนประสาท
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตร
- รองศาสตราจารย์ เอกราช เกตวัลห์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ
- อาจารย์ นิธิ อัศวภาณุมาศ
- รองศาสตราจารย์ ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริย พรรณเชษฐ์
- รองศาสตราจารย์ ณัฐิรา อ่อนน้อม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐภูมิ ปฐมทองทวีชัย
- รองศาสตราจารย์ กิตติ สรณเจริญพงศ์
- รองศาสตราจารย์ ชลัท ศานติวรางคณา
- รองศาสตราจารย์ วรางคณา ศรีจำนงค์
- รองศาสตราจารย์ เชาวนี ชูพีรัชน์
- รองศาสตราจารย์ อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์
- รองศาสตราจารย์ มลฤดี สุขประสารทรัพย์
- รองศาสตราจารย์ วราภรณ์ เสถียรนพเก้า
- ศาสตราจารย์ นพวรรณ เปียซื่อ
- อาจารย์ ฐนิต วินิจจะกูล
- รองศาสตราจารย์ กุลพงษ์ ชัยนาม
- รองศาสตราจารย์ ประพิมพ์พร ฉัตรานุกูลชัย (ฉันทวศินกุล)
- รองศาสตราจารย์ ธัญญ์นลิน วิญญูประสิทธิ์
- อาจารย์ เคนจิโร่ มูต้า
- รองศาสตราจารย์ ดุลยพร ตราชูธรรม
- รองศาสตราจารย์ ปิยะ เต็มวิริยะนุกูล