ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
เว็บไซต์ |
https://cf.mahidol.ac.th/th/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
1 ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน 1.2 แบบวิชาการ 1.1) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่า สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จิตวิทยา สังคมศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นิเทศศาสตร์ เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารและพัฒนา สถาปัตยกรรม แพทยศาสตร์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 1.2) คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด 1.3) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (1.2) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการ คัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย 2 ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน 2 แบบวิชาชีพ 2.1) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่า สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จิตวิทยา สังคมศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นิเทศศาสตร์ เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารและพัฒนา สถาปัตยกรรม แพทยศาสตร์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.2) มีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก ไม่น้อยกว่า 1 ปี 2.3) คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด 2.4) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (2.3) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการ คัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน 2 แบบวิชาชีพ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 12 | หน่วยกิต | |
การค้นคว้าอิสระ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นวัตกรด้านการพัฒนาเด็กและคุ้มครองเด็ก
- นักวิจัยด้านการพัฒนาเด็กและคุ้มครองเด็ก
- นักออกแบบ นักพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก
- ผู้ให้บริการหรือผู้ทำงานด้านการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
ดคทน๕๑๑ : สิทธิเด็กและการคุ้มครองในโลกของการเปลี่ยนแปลง | 2 | ||
ดคทน๕๑๓ : การพัฒนาเด็กและการแทรกแซงในมิติเชิงนิเวศ | 3 | ||
ดคทน๕๑๔ : นวัตกรรมและการคิดเชิงออกแบบเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 3 | ||
ดคทน๕๑๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๑๖ : สัมมนาเกี่ยวกับนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 1 | ||
ดคทน๕๑๘ : ความสร้างสรรค์และการจัดการนวัตกรรม | 2 | ||
ดคทน๕๔๓ : ผู้จัดการความปลอดภัยและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดดทน๕๑๒ : ประสาทวิทยาศาสตร์พัฒนาการเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ดคทน๕๑๗ : ห้องปฏิบัติการนวัตกรรม | 2 | ||
ดคทน๕๓๑ : การรู้ทางดิจิทัลสารสนเทศเพื่อการคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๓๒ : การพัฒนาการที่ยั่งยืนและประเด็นทางสังคมเพื่อการเยียวยาเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๓๓ : กฎหมายเพื่อการคุ้มครองสิทธิเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๓๖ : นวัตกรรมในการเรียนรู้ | 2 | ||
ดคทน๕๓๘ : การสนับสนุนทางสังคมเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว | 2 | ||
ดคทน๕๓๙ : การประเมินหน้าที่เชิงการรับรู้เพื่อการออกแบบการวิจัยและการแทรกแซงเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๔๐ : การเรียนรู้โดยนักปฏิบัติการการเล่น | 2 | ||
ดคทน๕๔๒ : นักปฏิบัติการส่งเสริมครอบครัว | 2 | ||
ดคทน๕๔๔ : นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและสังคมเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว | 2 | ||
ดคทน๕๔๕ : การออกแบบชีวิตเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๔๖ : นักปฏิบัติการด้านการเรียนรู้และการดูแลเด็กปฐมวัย | 2 | ||
ดคทน๕๔๗ : แนวทางแบบองค์รวมสำหรับสุขภาพในโรงเรียน: การป้องกันและการส่งเสริม | 2 | ||
ดคทน๕๔๘ : การออกแบบกิจกรรมสุขภาพอย่างบูรณาการเพื่อพัฒนาเด็กและผู้สูงวัย | 2 | ||
ดคทน๕๔๙ : ศาสตร์สุขภาพบูรณาการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะในเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๕๐ : นวัตกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพจิต | 2 | ||
ดคทน๕๕๑ : บบอย่างไทยในการดูแลเด็กเปราะบางและเด็กพิเศษในชุมชน | 2 | ||
ดคทน๕๕๒ : การวิจัยทางสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๕๓ : นวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๕๔ : นวัตกรรมและการเป็นผู้ประกอบการด้านการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๕๕ : การสร้างนวัตกรรมการประเมินและส่งเสริมทักษะการคิดเชิงบริหารทาง สมองจากงานวิจัย | 2 | ||
ดคทน๕๕๖ : ความก้าวหน้าและเทคโนโลยีในปัจจุบันเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคระบาดและโรคติด เชื้อ | 2 | ||
ดคทน๕๕๗ : ดนตรีกับการเล่นในเด็กปฐมวัย | 2 | ||
ดคทน๕๕๘ : ดนตรีศึกษาแบบบูรณาการ | 2 | ||
ดคทน๕๕๙ : นวัตกรรมการเรียนรู้ภาษาและการสื่อสารในเด็กปฐมวัย | 2 | ||
ดคทน๕๖๐ : การออกแบบและจัดกระบวนการการเรียนรู้ | 2 | ||
ดคทน๕๖๑ : จิตวิทยากับการพัฒนาตัวเอง | 2 | ||
ดคทน๕๖๒ : นักสร้างสุขครอบครัว | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ดคทน๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
ดคทน๕๑๑ : สิทธิเด็กและการคุ้มครองในโลกของการเปลี่ยนแปลง | 2 | ||
ดคทน๕๑๓ : การพัฒนาเด็กและการแทรกแซงในมิติเชิงนิเวศ | 3 | ||
ดคทน๕๑๔ : นวัตกรรมและการคิดเชิงออกแบบเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 3 | ||
ดคทน๕๑๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๑๖ : สัมมนาเกี่ยวกับนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 1 | ||
ดคทน๕๑๘ : ความสร้างสรรค์และการจัดการนวัตกรรม | 2 | ||
ดคทน๕๔๓ : ผู้จัดการความปลอดภัยและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดดทน๕๑๒ : ประสาทวิทยาศาสตร์พัฒนาการเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ดคทน๕๑๗ : ห้องปฏิบัติการนวัตกรรม | 2 | ||
ดคทน๕๓๑ : การรู้ทางดิจิทัลสารสนเทศเพื่อการคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๓๒ : การพัฒนาการที่ยั่งยืนและประเด็นทางสังคมเพื่อการเยียวยาเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๓๓ : กฎหมายเพื่อการคุ้มครองสิทธิเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๓๖ : นวัตกรรมในการเรียนรู้ | 2 | ||
ดคทน๕๓๘ : การสนับสนุนทางสังคมเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว | 2 | ||
ดคทน๕๓๙ : การประเมินหน้าที่เชิงการรับรู้เพื่อการออกแบบการวิจัยและการแทรกแซงเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๔๐ : การเรียนรู้โดยนักปฏิบัติการการเล่น | 2 | ||
ดคทน๕๔๒ : นักปฏิบัติการส่งเสริมครอบครัว | 2 | ||
ดคทน๕๔๔ : นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและสังคมเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว | 2 | ||
ดคทน๕๔๕ : การออกแบบชีวิตเพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๔๖ : นักปฏิบัติการด้านการเรียนรู้และการดูแลเด็กปฐมวัย | 2 | ||
ดคทน๕๔๗ : แนวทางแบบองค์รวมสำหรับสุขภาพในโรงเรียน: การป้องกันและการส่งเสริม | 2 | ||
ดคทน๕๔๘ : การออกแบบกิจกรรมสุขภาพอย่างบูรณาการเพื่อพัฒนาเด็กและผู้สูงวัย | 2 | ||
ดคทน๕๔๙ : ศาสตร์สุขภาพบูรณาการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะในเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๕๐ : นวัตกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพจิต | 2 | ||
ดคทน๕๕๑ : บบอย่างไทยในการดูแลเด็กเปราะบางและเด็กพิเศษในชุมชน | 2 | ||
ดคทน๕๕๒ : การวิจัยทางสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๕๓ : นวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๕๔ : นวัตกรรมและการเป็นผู้ประกอบการด้านการพัฒนาและคุ้มครองเด็ก | 2 | ||
ดคทน๕๕๕ : การสร้างนวัตกรรมการประเมินและส่งเสริมทักษะการคิดเชิงบริหารทาง สมองจากงานวิจัย | 2 | ||
ดคทน๕๕๖ : ความก้าวหน้าและเทคโนโลยีในปัจจุบันเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคระบาดและโรคติด เชื้อ | 2 | ||
ดคทน๕๕๗ : ดนตรีกับการเล่นในเด็กปฐมวัย | 2 | ||
ดคทน๕๕๘ : ดนตรีศึกษาแบบบูรณาการ | 2 | ||
ดคทน๕๕๙ : นวัตกรรมการเรียนรู้ภาษาและการสื่อสารในเด็กปฐมวัย | 2 | ||
ดคทน๕๖๐ : การออกแบบและจัดกระบวนการการเรียนรู้ | 2 | ||
ดคทน๕๖๑ : จิตวิทยากับการพัฒนาตัวเอง | 2 | ||
ดคทน๕๖๒ : นักสร้างสุขครอบครัว | 2 | ||
การค้นคว้าอิสระ | หน่วยกิต | ||
ดคทน๖๙๖ : การค้นคว้าอิสระ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ ชฎารัตน์ สุขสิริวรรณ (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาวิตรี ทยานศิลป์
- รองศาสตราจารย์ วิมลทิพย์ มุสิกพันธ์
- อาจารย์ นุชนาฎ รักษี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรัล ขุนวิทยา
- อาจารย์ ธีรตา ขำนอง
- รองศาสตราจารย์ อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา
- รองศาสตราจารย์ อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นนทสรวง กลีบผึ้ง
- อาจารย์ สุพัทธ แสนแจ่มใส
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แก้วตา นพมณีจำรัสเลิศ