เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   9   พฤษภาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ชีวเวชและสุขภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต
คณะ/สถาบัน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
เว็บไซต์ http://mu-informatics.org/

ชื่อปริญญา

ประกาศนียบัตรบัณฑิต(สารสนเทศศาสตร์ชีวเวชและสุขภาพ)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

An applicant is required to:
1. Hold a Bachelor degree in science, health science, public health, pharmacy, dentistry, medicine, veterinary, medical technology, computer science, or information and communication technology
2. Have cumulative GPA of not less than 2.5
3. Have other qualifications as required by Faculty of Graduate Studies
4. Other exceptions for (2) and (3) may be considered by the Program Director and the Dean of the Faculty of Graduate Studies

โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชาบังคับ 14            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 10            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 24            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Health informatics specialist
2. Project manager working for projects or research that involve data management
3. Data manager
4. Consultants for projects that involve application of IT in health care or public health

รายวิชาในหลักสูตร

รายวิชาในหลักสูตร
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วขสข๕๒๓ : หลักการและรากฐานของสารสนเทศศาสตร์สาธารณสุข 3
วขสข๕๒๖ : พฤติกรรมองค์กรและทักษะการจัดการ 3
วขสข๕๒๘ : การเฝ้าระวังโรคและการสืบสวนทางสาธารณสุข 2
วขสข๕๒๙ : ประเด็นทางกฎหมายและจริยธรรมในสาขาสารสนเทศศาสตร์สุขภาพ 1
วขสข๕๔๔ : ประเด็นท้าทายในสารสนเทศศาสตร์สุขภาพ 2
วขสข๕๔๕ : การออกแบบและติดตั้งระบบสารสนเทศทางสุขภาพ 2
วขสข๕๔๖ : สัมมนาทางสารสนเทศศาสตร์สุขภาพ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วขสข๕๑๗ : วิธีทางสถิติในวิทยาการระบาดเชิงพื้นที่ 2
วขสข๕๓๔ : การจัดทำเหมืองข้อมูลและการเรียนรู้ของเครื่อง 2
วขสข๕๓๕ : การประยุกต์แบบจำลองทางคณิตศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ในชีวการแพทย์และการสาธารณสุข 2
วขสข๕๔๑ : มูลฐานการดูแลสุขภาพและศัพท์ทางการแพทย์ 2
วขสข๕๔๓ : การแสดงผลข้อมูลและเทคนิคการนำเสนอข้อมูล 2
วขสข๕๔๗ : องค์ประกอบสำคัญของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพ 2
วขสข๕๔๙ : การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในวิทยาการระบาด 2
วขสข๕๕๐ : การบริหารจัดการข้อมูล 2
วขสข๕๕๖ : การออกแบบและพัฒนาแอพพลิเคชันเพื่อใช้งานบนเว็บและอุปกรณ์เคลื่อนที่ 2
วขสข๕๕๗ : แหล่งข้อมูลอุบัติใหม่และการประยุกต์ใช้เพื่อสุขภาพ 2
วขสข๕๕๘ : การฝึกงานด้านสารสนเทศชีวเวชและสุขภาพ 3
วขสข๕๕๙ : ปัญญาประดิษฐ์ในการดูแลสุขภาพ 2

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ วิริชดา ปานงาม   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ศรีวิชา ครุฑสูตร
  3. ศาสตราจารย์ Peter Fereed Haddawy
  4. ศาสตราจารย์ จรณิต แก้วกังวาล
  5. รองศาสตราจารย์ สารนาถ ล้อพูลศรี นิยม
  6. รองศาสตราจารย์ กิตติยศ ภู่วรวรรณ
  7. รองศาสตราจารย์ วัชรพงศ์ ปิยะภาณี
  8. รองศาสตราจารย์ วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประพัฒน์ สุริยผล
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ งามพล สุนทรวรสิริ
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พจนีย์ จิตตะมาลา
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวรัช โรจนประเสริฐ
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิมพ์เพ็ญ เจริญ
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โษฑศ์รัตต ธรรมบุษดี
  15. รองศาสตราจารย์ ธันดร งามประเสริฐชัย
  16. อาจารย์ โลกเชษฐ์ ธนสุกาญจน์
  17. อาจารย์ บุญชัย กิจสนาโยธิน
  18. อาจารย์ พัณณมาศ มณีกาญจน์