ผู้สนใจเข้าศึกษา
ประกาศนียบัตรบัณฑิตอายุรศาสตร์เขตร้อนและสุขวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ประกาศนียบัตรบัณฑิต |
คณะ/สถาบัน | คณะเวชศาสตร์เขตร้อน |
เว็บไซต์ |
https://www.tm.mahidol.ac.th/dtmh/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ประกาศนียบัตรบัณฑิตอายุรศาสตร์เขตร้อนและสุขวิทยา
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต ๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก เข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชาบังคับ | 20 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 4 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 24 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- แพทย์ที่มีความรู้ระดับสูงในภาคทฤษฎีและปฏิบัติทางโรคเขตร้อน
- ที่ปรึกษาด้านโรคเขตร้อนระดับนานาชาติ
รายวิชาในหลักสูตร
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วขอส๕๐๑ : หลักสำคัญเวชศาสตร์เขตร้อนและสุขวิทยา | 3 | ||
วขอส๕๐๒ : โรคที่ติดต่อทางอาหารและน้ำ: หนอนพยาธิที่ติดต่อทางดิน | 3 | ||
วขอส๕๐๓ : โรคที่ติดต่อทางอาหารและน้ำ: โรคปรสิตในเนื้อเยื่อ | 2 | ||
วขอส๕๐๔ : โรคติดต่อสำคัญที่นำโดยยุง | 3 | ||
วขอส๕๐๕ : โรคติดต่อจากพาหะอื่นนอกจากยุงและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน | 2 | ||
วขอส๕๐๖ : โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี | 2 | ||
วขอส๕๐๗ : ปัญหาสุขภาพทั่วไปและโรคที่พบบ่อยในเขตร้อน | 2 | ||
วขอส๕๐๘ : เวชศาสตร์การเดินทาง ๑ | 1 | ||
วขอส๕๐๙ : การศึกษาทางคลินิก ชุมชน และฝึกปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการ | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วขจอ๕๐๗ : จุลชีววิทยาขั้นสูง | 1 | ||
วขจอ๕๐๘ : จุลชีววิทยาเชิงปฏิบัติ | 1 | ||
วขจอ๕๐๙ : การวินิจฉัยโรคติดเชื้อในเขตร้อน โดยวิธีทางวิทยาภูมิคุ้มกันและชีววิทยาระดับโมเลกุล | 2 | ||
วขจอ๕๐๙ : การวินิจฉัยโรคติดเชื้อเขตร้อนโดยวิธีทางวิทยาภูมิคุ้มกันและชีววิทยาระดับโมเลกุล | 2 | ||
วขภข๕๑๘ : โภชนาการมนุษย์ | 2 | ||
วขมข๕๐๑ : ปัญหาโรคเด็กในเขตร้อน | 2 | ||
วขวส๕๐๒ : สังคมศาสตร์ประยุกต์ทางเวชศาสตร์เขตร้อน | 2 | ||
วขสข๕๐๒ : ชีวสถิติทางการแพทย์ | 1 | ||
วขสข๕๐๘ : การสืบสวนทางวิทยาการระบาด | 2 | ||
วขสว๕๑๐ : สถิติสำหรับการวิจัยทางคลินิก | 3 | ||
วขสว๕๓๓ : ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาทางการแพทย์ | 3 | ||
วขอข๕๐๓ : บทนำสู่การวิจัยทางคลินิก | 1 | ||
วขอข๕๐๙ : ปัญหาเวชศาสตร์ในเขตร้อน | 2 | ||
วขอข๕๓๐ : กรณีศึกษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อเขตร้อน | 1 | ||
วขอข๕๓๒ : เวชศาสตร์การเดินทาง ๒ | 2 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อมรรัตน์ อรุณนวล
- อาจารย์ สังสิทธิ์ สังวรโยธิน
- รองศาสตราจารย์ นพดล ตั้งภักดี
- รองศาสตราจารย์ กรุณี ขวัญบุญจัน
- รองศาสตราจารย์ จิตติมา ฐิตวัฒน์
- ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พรรณี ปิติสุทธิธรรม
- รองศาสตราจารย์ วิวัฒน์ จันเจริญฐานะ
- อาจารย์ พิมพ์พรรณ พิสุทธิ์ศาล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธรรมณิษฐ์พล เด่นเพชรกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรวรรณ พู่พิสุทธิ์
- อาจารย์ ธนยา ศิริปุณย์
- รองศาสตราจารย์ ดร วัฒนกุลพานิชย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธีระ กุศลสุข
- ศาสตราจารย์ พรรณเพ็ญ วิริยเวชกุล
- รองศาสตราจารย์ วีระพงษ์ ภูมิรัตนประพิณ
- รองศาสตราจารย์ อุดมศักดิ์ ศิลาจำรูญ
- ศาสตราจารย์ ภัสเนศวร์ สุขโพธิ์เพชร
- ศาสตราจารย์ ศรีวิชา ครุฑสูตร
- รองศาสตราจารย์ กิตติยศ ภู่วรวรรณ