ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอายุรศาสตร์เขตร้อน (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | คณะเวชศาสตร์เขตร้อน |
เว็บไซต์ |
https://www.tm.mahidol.ac.th/phd-tropmed/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(อายุรศาสตร์เขตร้อน)
วิชาเอก
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา แบบ ๑ (๑) สำเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอายุรศาสตร์เขตร้อน หรือปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับโรคเขตร้อน จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาให้การรับรอง โดยมีแต้มเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ และ (๒) มีประสบการณ์ในการทำวิจัยด้านเวชศาสตร์เขตร้อน โดยมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ ที่เขื่อถือได้ในวงวิชาชีพอย่างน้อย ๒ เรื่อง โดยเป็นผู้นิพนธ์หลักหรือชื่อแรก ๑ เรื่อง และเป็นผู้นิพนธ์ ร่วม ๑ เรื่อง ทั้งนี้ผลงานตีพิมพ์ดังกล่าวต้องไม่ใช่ผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับ ปริญญาโท (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า ศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา แบบ ๒ สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท (๑) สำเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอายุรศาสตร์เขตร้อน หรือปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับโรคเขตร้อน จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาให้การรับรอง โดยมีแต้มเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ (๒) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (๓) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า ศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (๑) สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาใน ระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง โดยมีแต้มเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือ (๒) สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทย- ศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตรบัณฑิต จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง ที่มีประสบการณ์ งานวิจัยทางเวชศาสตร์เขตร้อน โดยมีแต้มเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้า ศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แบบ ๑ | |||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒ | |||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 8 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 4 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 20 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 10 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการสาธารณสุข นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่มีทักษะและความสามารถทางโรคเขตร้อน ในสถาบันวิชาการของภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ
- ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์เขตร้อน
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 1
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วขสว๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
แบบ 2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วขสว๕๑๓ : ชีวสถิติ | 2 | ||
วขสว๕๓๔ : เซลล์และชีววิทยาระดับโมเลกุลของโรคเขตร้อน | 2 | ||
วขสว๕๓๖ : โฮสต์และลักษณะด้านสิ่งแวดล้อมของโรคเขตร้อน | 2 | ||
วขสว๕๓๗ : เชื้อก่อโรคเขตร้อนและพาหะนำโรค | 2 | ||
วขสว๕๓๘ : การฝึกภาคสนามทางอายุรศาสตร์เขตร้อน | 1 | ||
วขสว๕๔๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
วขสว๕๔๘ : แนวคิดด้านวิทยาการระบาดทางเวชศาสตร์เขตร้อน | 1 | ||
วขสว๖๐๖ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตทางเวชศาสตร์เขตร้อน | 2 | ||
วขสว๖๐๗ : โรคเขตร้อนที่ติดต่อทางอาหารและน้ำ | 3 | ||
วขสว๖๐๘ : โรคเขตร้อนที่ติดต่อทางเลือดและพาหะ | 3 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วขสว๖๐๖ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตทางเวชศาสตร์เขตร้อน | 2 | ||
วขสว๖๐๗ : โรคเขตร้อนที่ติดต่อทางอาหารและน้ำ | 3 | ||
วขสว๖๐๘ : โรคเขตร้อนที่ติดต่อทางเลือดและพาหะ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วขกข๕๑๓ : กีฏวิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขจอ๕๑๐ : จุลชีววิทยาทางการแพทย์ | 2 | ||
วขจอ๕๑๑ : วิทยาภูมิคุ้มกัน ๑ | 2 | ||
วขจอ๕๑๒ : วิทยาภูมิคุ้มกัน ๒ | 2 | ||
วขจอ๕๑๓ : จุลชีววิทยาขั้นสูง | 2 | ||
วขจอ๕๑๕ : จุลชีววิทยาภาคปฏิบัติ | 2 | ||
วขจอ๕๑๖ : วิทยาภูมิคุ้มกันภาคปฏิบัติ | 2 | ||
วขชพ๕๐๘ : อายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์ | 2 | ||
วขชพ๕๐๙ : สัมมนาอายุรศาตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล | 2 | ||
วขชพ๕๑๐ : ปฏิบัติการวิจัยทางชีววิทยาระดับโมเลกุล | 2 | ||
วขชพ๕๑๑ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการขั้นสูง | 2 | ||
วขปน๕๐๕ : วิทยาหนอนพยาธิการแพทย์ | 2 | ||
วขพข๕๐๒ : จุลกายวิภาคศาสตร์ | 2 | ||
วขพข๕๐๓ : สรีรวิทยา | 2 | ||
วขพข๕๐๔ : พยาธิวิทยา | 2 | ||
วขพข๕๐๕ : พยาธิวิทยาโรคเขตร้อน | 2 | ||
วขพป๕๐๓ : โปรโตซัววิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขภข๕๐๖ : โภชนศาสตร์ | 2 | ||
วขภข๕๑๐ : ชีวเคมี | 2 | ||
วขภข๕๑๖ : ปฏิบัติการโภชนศาสตร์ | 2 | ||
วขภข๕๑๗ : ชีวเคมีและโภชนศาสตร์ขั้นสูง | 2 | ||
วขวส๕๐๒ : สังคมศาสตร์ประยุกต์ทางเวชศาสตร์เขตร้อน | 2 | ||
วขวส๕๐๓ : วิทยาการระบาดทางสังคม | 2 | ||
วขวส๕๐๔ : ปัญหาปัจจุบันทางสังคมศาสตร์การแพทย์ | 2 | ||
วขวส๕๒๔ : หลักการทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา | 2 | ||
วขวส๕๒๕ : การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ | 2 | ||
วขวส๕๒๖ : เทคนิคการวิเคราะห์ทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา | 2 | ||
วขวส๕๒๘ : การจัดการสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขวส๕๒๙ : หลักการทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขวส๕๓๑ : เทคโนโลยีชีวภาพประยุกต์ | 2 | ||
วขวส๕๓๓ : เทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูงเพื่อพัฒนาชีวภัณฑ์และควบคุมโรคเขตร้อน | 2 | ||
วขวส๕๓๘ : วิธีศึกษาด้านเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขสข๕๒๐ : วิทยาการระบาดขั้นสูง | 2 | ||
วขสข๕๒๑ : ชีวสถิติขั้นกลาง | 2 | ||
วขสข๕๒๒ : การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงทางวิทยาการระบาด | 2 | ||
วขสว๕๑๖ : ปรสิตวิทยาภาคปฏิบัติ | 2 | ||
วขอข๕๑๐ : โรคที่เกิดจากปรสิต | 2 | ||
วขอข๕๑๑ : โรคที่ไม่ได้เกิดจากปรสิต | 2 | ||
วขอข๕๑๓ : หลักการวิจัยทางคลินิก | 2 | ||
วขอข๕๑๔ : เภสัชวิทยาเขตร้อนคลินิก | 2 | ||
วขอข๕๑๕ : เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก ๑ | 2 | ||
วขอข๕๑๖ : เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก ๒ | 2 | ||
วขอข๕๑๗ : การประเมินผลการวิจัยทางเภสัชวิทยาคลินิก | 2 | ||
หัวข้อพิเศษ สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี และสำเร็จปริญญาโท | |||
วขกข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางกีฏวิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขจอ๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน | 2 | ||
วขจอ๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางชีววิทยาระดับโมเลกุลของการติดเชื้อ/โรคเขตร้อน | 2 | ||
วขจอ๖๐๓ : หัวข้อพิเศษทางปรสิตวิทยาภูมิคุ้มกัน | 2 | ||
วขชพ๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล ๑ | 2 | ||
วขชพ๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล ๒ | 2 | ||
วขปน๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางวิทยาหนอนพยาธิ | 2 | ||
วขพข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางพยาธิวิทยา | 2 | ||
วขพข๖๐๒ : สัมมนาทางพยาธิวิทยาโรคเขตร้อน ๒ | 2 | ||
วขพป๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางพยาธิโปรโตซัววิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขภข๖๐๓ : หัวข้อพิเศษทางวิทยาการระบาดโภชนาการ | 2 | ||
วขภข๖๐๕ : หัวข้อพิเศษทางโภชนาการชีวเคมี | 2 | ||
วขมข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางโรคเด็กในเขตร้อน | 2 | ||
วขวส๖๐๔ : การเตรียมโครงร่างการวิจัย | 2 | ||
วขวส๖๐๗ : การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยาขั้นสูง | 2 | ||
วขวส๖๐๘ : สัมมนาด้านสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา | 2 | ||
วขวส๖๐๙ : ปัญหาพิเศษทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขวส๖๑๐ : สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขวส๖๑๑ : หัวข้อพิเศษทางเวชศาสตร์สังคม | 2 | ||
วขสข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางระบาดวิทยาและการควบคุมโรคติดต่อ | 2 | ||
วขสข๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางสุขวิทยาเขตร้อน | 2 | ||
วขสว๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางโลหิตวิทยา | 2 | ||
วขสว๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขอข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนคลินิก | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วขสว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วขสว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ จิราภรณ์ เรืองสิทธิชัย
- รองศาสตราจารย์ ชูเกียรติ ศิริวิชยกุล
- รองศาสตราจารย์ เกรียงศักดิ์ ลิมป์กิตติกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วัชรี อรุณสดใส
- ศาสตราจารย์ นริศรา จันทราทิตย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนรรถ ชูขจร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สันติ มณีวัชระรังษี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วีรวรรณ หัตถสิงห์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มุทิตา วนาภรณ์
- รองศาสตราจารย์ แสงเดือน มูลสม
- รองศาสตราจารย์ องอาจ มหิทธิกร
- รองศาสตราจารย์ ปานน้ำทิพย์ พิทักษ์สัจจะกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ญาณิน ลิมปานนท์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชรินทร์ ถาวรคุโณ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อมรรัตน์ อรุณนวล
- รองศาสตราจารย์ ภูมิ อดิศักดิ์วัฒนา
- รองศาสตราจารย์ สุภลัคน์ โพธิ์พฤกษ์
- รองศาสตราจารย์ เพียงจันทร์ สนธยานนท์
- อาจารย์ สังสิทธิ์ สังวรโยธิน
- รองศาสตราจารย์ นิตยา อินทราวัฒนา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฉัตรพร กิตติตระกูล
- รองศาสตราจารย์ วีรวรรณ ลุวีระ
- รองศาสตราจารย์ นพดล ตั้งภักดี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัณฑ์ ม่วงน้อยเจริญ
- รองศาสตราจารย์ ไกรชาติ ตันตระการอาภา
- รองศาสตราจารย์ ณัฐธิดา ศรีบุญวรกุล
- รองศาสตราจารย์ สุเมธ อำภาวงษ์
- รองศาสตราจารย์ พัฒนียา ปรางทิพย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิมพ์เพ็ญ เจริญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตติพงษ์ ฉายศิริ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มัทธิว พันชนะ
- รองศาสตราจารย์ พารณ ดีคำย้อย
- รองศาสตราจารย์ ดำรงเกียรติ อาจหาญ
- รองศาสตราจารย์ กรุณี ขวัญบุญจัน
- รองศาสตราจารย์ จิตติมา ฐิตวัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ronald Enrique Morales Vargas
- ศาสตราจารย์ พลรัตน์ วิไลรัตน์
- ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พรรณี ปิติสุทธิธรรม
- รองศาสตราจารย์ เยาวพา มณีรัตน์
- รองศาสตราจารย์ อุรุษา แทนขำ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประกายแก้ว จรูญวรรธนะ
- รองศาสตราจารย์ เนาวรัตน์ ศรลัมพ์
- ศาสตราจารย์ ดิเรก ลิ้มมธุรสกุล
- รองศาสตราจารย์ พจนีย์ จิตตะมาลา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ งามพล สุนทรวรสิริ
- รองศาสตราจารย์ วิริชดา ปานงาม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภชัย โตภาณุรักษ์
- รองศาสตราจารย์ อรภัค เรี่ยมทอง
- รองศาสตราจารย์ พัชรา ศรีวิชัย
- รองศาสตราจารย์ วิวัฒน์ จันเจริญฐานะ
- รองศาสตราจารย์ วัฒนา เลี้ยววัฒนา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วศิน แมตสี
- อาจารย์ จันทร์จิรา ไทยผดุงพานิช
- รองศาสตราจารย์ ชวรัช โรจนประเสริฐ
- อาจารย์ พิมพ์พรรณ พิสุทธิ์ศาล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธรรมณิษฐ์พล เด่นเพชรกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรรัศมิ์ จินตฤทธิ์
- รองศาสตราจารย์ รัชรินทร์ โพธิวัฒน์
- รองศาสตราจารย์ อาทิตย์ เพ็ชร์รักษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรวรรณ พู่พิสุทธิ์
- อาจารย์ ธนยา ศิริปุณย์
- รองศาสตราจารย์ ดร วัฒนกุลพานิชย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธีระ กุศลสุข
- ศาสตราจารย์ พรรณเพ็ญ วิริยเวชกุล
- ศาสตราจารย์ เกศินี โชติวานิช
- อาจารย์ พัณณมาศ มณีกาญจน์
- รองศาสตราจารย์ วีระพงษ์ ภูมิรัตนประพิณ
- รองศาสตราจารย์ อุดมศักดิ์ ศิลาจำรูญ
- ศาสตราจารย์ มัลลิกา อิ่มวงศ์
- รองศาสตราจารย์ พรพรรณ ภูมิรัตน์
- รองศาสตราจารย์ ณฐมน โกศลธนาภิวัฒน์
- รองศาสตราจารย์ อุษา บุญยืน
- รองศาสตราจารย์ ชญาสินธุ์ แม้นสงวน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภารัตน์ พัวนุกูลนนท์
- อาจารย์ สรวงสุดา สุภาสัย
- รองศาสตราจารย์ สุชาดา สำรวยผล
- รองศาสตราจารย์ สุพัฒน์ ชำนาญชานันท์
- รองศาสตราจารย์ อุไร ไชยศรี
- รองศาสตราจารย์ วัชรพงศ์ ปิยะภาณี
- ศาสตราจารย์ วิภา ธนาชาติเวทย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิรงค์รอง เจียรกุล
- รองศาสตราจารย์ พรสวรรค์ เหลืองวุฒิวงษ์
- รองศาสตราจารย์ สุวลีย์ วรคุณพิเศษ
- ศาสตราจารย์ ภัสเนศวร์ สุขโพธิ์เพชร
- ศาสตราจารย์ พรทิพย์ เพ็ชรมิตร
- รองศาสตราจารย์ พงศ์ราม รามสูต
- รองศาสตราจารย์ สารนาถ ล้อพูลศรี นิยม
- ศาสตราจารย์ ศรีวิชา ครุฑสูตร
- ศาสตราจารย์ รังสรรค์ ตั้งตรงจิตร
- รองศาสตราจารย์ บริมาส หาญบุญคุณูปการ
- รองศาสตราจารย์ หวัง หงุ่ยตระกูล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพิชชา กมลรัตนกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัยสิทธิ์ ศิวากรณ์
- รองศาสตราจารย์ ธันดร งามประเสริฐชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพย์ฤทัย พานิชชาติ
- รองศาสตราจารย์ กอบพร บุญนาค
- รองศาสตราจารย์ กิตติยศ ภู่วรวรรณ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภวัฒน์ จัดเจน