เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   26   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ดุริยางคศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ/สถาบัน วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
เว็บไซต์ http://www.music.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ดุริยางคศาสตรดุษฎีบัณฑิต

วิชาเอก

  • วิชาเอกการแสดงดนตรี
  • วิชาเอกการประพันธ์ดนตรี
  • วิชาเอกการอำนวยเพลง
  • จุดเด่นของหลักสูตร

    หลักสูตรดุริยางคศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) เป็นหลักสูตรที่พัฒนาการศึกษาของประเทศใน ระดับบัณฑิตศึกษาด้านดนตรีที่มุ่งพัฒนาบุคลากรทางดนตรีทั้งในประเทศและต่างประเทศให้มีทักษะระดับ สูงขึ้น ของอาชีพทางด้านการปฏิบัติดนตรี ได้แก่ วาทยากร และนักประพันธ์ดนตรี

    คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

    ๑.  สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า โดยได้รับปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต 
    ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และครุศาสตรมหาบัณฑิตในสาขาวิชาดนตรี หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาสุดท้าย
    จากสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง โดยได้คะแนนเฉลี่ยสะสม
    ไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐
    ๒.  มีผลการสอบผ่านภาษาอังกฤษตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
    ๓.  ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา
    ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

    โครงสร้างหลักสูตร

    แบบ ๒
    หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
    หมวดวิชาแกน 4            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 14            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
    รวมไม่น้อยกว่า 60            หน่วยกิต

    อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


    - นักแสดงดนตรีที่มีความเชี่ยวชาญในการแสดงดนตรีคลาสสิก หรือ การแสดงดนตรีไทย
    - นักประพันธ์ดนตรี
    - วาทยากร

    รายวิชาในหลักสูตร

    แบบ 2

    หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
    ดศดว๕๒๑ : ภาพรวมของประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก 1
    ดศดว๕๒๒ : ภาพรวมของประวัติศาสตร์ดนตรีไทย 1
    ดศทพ๕๓๐ : ทบทวนทฤษฎีดนตรีตะวันตก 1
    ดศทอ๕๑๒ : ทบทวนทฤษฎีดนตรีไทย 1
    หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
    ดศดน๗๒๓ : ระเบียบวิธีวิจัยดนตรีเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ 3
    ดศดน๗๒๔ : พัฒนาความเป็นมืออาชีพในการศึกษาด้านดนตรี 1
    หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
       ค. วิชาเอกการอำนวยเพลง
    ดศดน๗๘๑ : วรรณกรรมเครื่องดนตรีเอก ๑ 2
    ดศดน๗๘๘ : วรรณกรรมเครื่องดนตรีเอก ๒ 2
    ดศทพ๖๒๔ : การอ่านสกอร์ขั้นสูง 2
    ดศอพ๖๑๕ : การอำนวยเพลงขั้นสูง ๑ 2
    ดศอพ๖๑๖ : การอำนวยเพลงขั้นสูง ๒ 2
    ดศอพ๖๑๗ : การอำนวยเพลงขั้นสูง ๓ 2
    ดศอพ๖๑๘ : การอำนวยเพลงขั้นสูง ๔ 2
       ข. วิชาเอกการประพันธ์ดนตรี
    ดศทพ๖๑๔ : เคาน์เตอร์พอยท์ 2
    ดศทพ๖๑๖ : การเรียบเรียงสำหรับวงออร์เคสตราในศตวรรษที่ ๒๐ 2
    ดศทพ๖๒๑ : แนวดนตรีร่วมสมัย 2
    ดศทพ๖๒๘ : การประพันธ์ดนตรีขั้นสูง ๑ 2
    ดศทพ๖๒๙ : การประพันธ์ดนตรีขั้นสูง ๒ 2
    ดศทพ๖๓๐ : การประพันธ์ดนตรีขั้นสูง ๓ 2
    ดศทพ๖๓๑ : การประพันธ์ดนตรีขั้นสูง ๔ 2
       ก. วิชาเอกการแสดงดนตรี
    ดศดน๗๑๖ : ปฏิบัติรวมวงเล็ก ๑ 2
    ดศดน๗๑๗ : ปฏิบัติรวมวงเล็ก ๒ 2
    ดศดน๗๑๙ : ปฏิบัติรวมวงใหญ่ ๑ 2
    ดศดน๗๒๐ : ปฏิบัติรวมวงใหญ่ ๒ 2
    ดศดน๗๓๐ : ปฏิบัติเครื่องดนตรีเอกขั้นสูง ๑ 2
    ดศดน๗๓๑ : ปฏิบัติเครื่องดนตรีเอกขั้นสูง ๒ 2
    ดศดน๗๓๒ : ปฏิบัติเครื่องดนตรีเอกขั้นสูง ๓ 2
    ดศดน๗๓๓ : ปฏิบัติเครื่องดนตรีเอกขั้นสูง ๔ 2
    ดศดน๗๘๑ : วรรณกรรมเครื่องดนตรีเอก ๑ 2
    หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
    ดศขส๖๐๕ : วรรณกรรมอาร์ตซอง 2
    ดศขส๖๐๖ : วรรณกรรมอุปรากร 2
    ดศดน๗๐๓ : การสอนปฏิบัติดนตรีขั้นสูง ๑ 2
    ดศดน๗๐๔ : การสอนปฏิบัติดนตรีขั้นสูง ๒ 2
    ดศดน๗๐๕ : หัวข้อศึกษาเฉพาะ ๑ 2
    ดศดน๗๐๖ : หัวข้อศึกษาเฉพาะ ๒ 2
    ดศดน๗๐๗ : การศึกษาด้วยตนเอง ๑ 2
    ดศดน๗๐๘ : การศึกษาด้วยตนเอง ๒ 2
    ดศดน๗๑๐ : วรรณกรรมเครื่องดนตรีรอง 2
    ดศดน๗๑๑ : สัมมนาโครงร่างวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต 2
    ดศดน๗๑๒ : วรรณกรรมวงดนตรีเชมเบอร์ ๒ 2
    ดศดน๗๑๓ : ปฏิบัติเครื่องดนตรีโท ๑ 2
    ดศดน๗๑๘ : ปฏิบัติรวมวงเล็ก ๓ 2
    ดศดน๗๒๑ : ปฏิบัติรวมวงใหญ่ ๓ 2
    ดศดน๗๘๔ : ปฏิบัติเครื่องดนตรีโท ๒ 2
    ดศดน๗๘๗ : ปฏิบัติเครื่องดนตรีโท ๓ 2
    ดศดน๗๘๙ : วรรณกรรมเครื่องดนตรีเอก๓ 2
    ดศดน๗๙๒ : วรรณกรรมวงดนตรีเชมเบอร์ ๑ 2
    ดศทพ๖๑๘ : ออร์เคสเตรชั่นขั้นสูง 2
    ดศทพ๖๒๒ : สัมมนาทฤษฎีดนตรี 2
    ดศทพ๖๒๓ : สัมมนาการประพันธ์ดนตรี 2
    ดศทพ๖๒๖ : หัวข้อศึกษาในการสอนทฤษฎีดนตรี 2
    ดศทพ๖๒๗ : หัวข้อศึกษาในประวัติของทฤษฎีดนตรี 2
    ดศทอ๖๐๒ : การแปรทำนองดนตรีไทย 2
    ดศทอ๖๐๓ : การวิเคราะห์ดนตรีไทย 2
    ดศทอ๖๐๖ : สัมมนาดนตรีกับศาสนาและพิธีกรรม 2
    ดศทอ๖๐๗ : การควบคุมวงดนตรีไทย 2
    ดศลพ๖๐๑ : ดนตรีและละครเพลง ๑ 2
    ดศลพ๖๐๒ : ดนตรีและละครเพลง ๒ 2
    ดศอพ๖๐๕ : การอำนวยเพลงวงขับร้องประสานเสียง 2
    ดศอพ๖๐๖ : การอำนวยเพลงสำหรับวงเครื่องเป่า 2
    ดศอพ๖๐๗ : การอำนวยเพลงสำหรับวงออเคสตรา 2
    ดศอพ๖๐๘ : หลักการอำนวยเพลง 2
    ดศอพ๖๐๙ : การปฏิบัติอำนวยเพลง๑ 2
    ดศอพ๖๑๐ : การปฏิบัติอำนวยเพลง ๒ 2
    ดศอพ๖๑๑ : หัวข้อศึกษาดุริยวรรณกรรมวงเครื่องลม 2
    ดศอพ๖๑๒ : หัวข้อศึกษาดุริยวรรณกรรมวงออร์เคสตรา 2
    ดศอพ๖๑๓ : หัวข้อศึกษาดุริยวรรณกรรมวงขับร้องประสานเสียง 2
    ดศอพ๖๑๔ : การตีความบทเพลงและการแสดงสำหรับนักดนตรี 2
    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
    ดศดน๗๙๙ : วิทยานิพนธ์และการแสดงดนตรีระดับดุษฎีบัณฑิต 36

    อาจารย์ประจำหลักสูตร