ผู้สนใจเข้าศึกษา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ |
เว็บไซต์ |
https://www.music.mahidol.ac.th/th/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ดนตรี)
วิชาเอก
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
๑. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ดุริยางคศาสตรบัณฑิต ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต และครุศาสตรบัณฑิต จากสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง กรณีที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอื่นที่ไม่ใช่สาขาวิชาดนตรีต้องมีประสบการณ์หรือทำหน้าที่เกี่ยวข้องด้านดนตรี เป็นเวลาอย่างน้อย ๑ ปี ๒. ได้แต้มคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๗๕ ๓. มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ๔. กรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ๕. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดใน ข้อ ๒.๒.๒ และข้อ ๒.๒.๔ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาแกน | 6 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 14 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 38 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาแกน | 6 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 14 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 12 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 38 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ผู้เชี่ยวชาญและผู้ให้ความรู้ด้านดนตรีในสถาบันการศึกษาในระดับพื้นฐานถึงระดับอุดมศึกษา ทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน
- นักวิจัยดนตรีในสถาบันต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
- นักวิชาการดนตรีบำบัด นักวิชาการวัฒนธรรมดนตรี และนักวิชาการดนตรีศึกษา
- ผู้ประกอบการด้านดนตรี และที่ปรึกษาธุรกิจอุตสาหกรรมดนตรี ที่เกี่ยวข้อง
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
ดศดว๕๒๑ : ภาพรวมของประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก | 1 | ||
ดศดว๕๒๒ : ภาพรวมของประวัติศาสตร์ดนตรีไทย | 1 | ||
ดศทพ๕๓๐ : ทบทวนทฤษฎีดนตรีตะวันตก | 1 | ||
ดศทอ๕๑๒ : ทบทวนทฤษฎีดนตรีไทย | 1 | ||
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
ดศดน๕๐๑ : ระเบียบวิธีวิจัยดนตรี | 2 | ||
ดศดน๕๐๔ : สัมมนาดนตรี | 2 | ||
ดศดน๕๙๖ : สัมมนาแนวคิด กระบวนทัศน์ และทักษะในงานดนตรี | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกธุรกิจดนตรี | |||
ดศธด๕๐๓ : การบริหารการเงินและการหาแหล่งทุนทางธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๐๔ : การจัดการทรัพย์สินทางปัญญาในธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๘ : กลยุทธ์การตลาดดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๙ : การเป็นผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๒๐ : ภาวะผู้นำในธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๒๑ : การวิจัยทางธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๒๓ : การจัดการธุรกิจดิจิทัลในอุตสาหกรรมดนตรี | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ดศดน๕๐๗ : การศึกษาด้วยตนเอง ๑ | 2 | ||
ดศดน๕๙๔ : หัวข้อศึกษาเฉพาะด้านดนตรี ๑ | 2 | ||
ดศดน๕๙๕ : หัวข้อศึกษาเฉพาะด้านดนตรี ๒ | 2 | ||
ดศดบ๕๑๐ : ดนตรีบำบัดในการฟื้นฟูสุขภาพ | 2 | ||
ดศดบ๕๑๖ : การวิจัยทางคลินิกในสาขาดนตรีบำบัด | 2 | ||
ดศดบ๕๑๗ : การปรึกษาสำหรับนักดนตรีบำบัด | 2 | ||
ดศดบ๕๑๙ : ดนตรีบำบัดในกลุ่มจิตเวช | 2 | ||
ดศดบ๕๒๐ : ดนตรีบำบัดในสถานพยาบาล | 2 | ||
ดศดบ๕๒๑ : ดนตรีบำบัดในโรงเรียน | 2 | ||
ดศดบ๕๒๒ : กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพื้นฐานสำหรับนักดนตรีบำบัด | 2 | ||
ดศดบ๕๒๓ : แนวโน้มของดนตรีบำบัด | 2 | ||
ดศดว๕๑๑ : ดนตรีในยุคโบราณ | 2 | ||
ดศดว๕๑๒ : ดนตรีในช่วงคอมมอนแพร็คทิส | 2 | ||
ดศดว๕๑๓ : ดนตรีในยุคศตวรรษที่ ๒๐ และ ๒๑ | 2 | ||
ดศดว๕๑๔ : บทวิจารณ์และประวัติศาสตร์ดนตรี | 2 | ||
ดศดว๕๑๗ : สัมมนาดนตรีพื้นบ้านไทย | 2 | ||
ดศดว๕๒๐ : สัมมนาดนตรีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | 2 | ||
ดศดว๕๒๖ : ประวัติและดุริยวรรณกรรมไทย | 2 | ||
ดศดว๕๒๗ : ความสัมพันธ์ของดนตรีไทยในวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขง | 2 | ||
ดศดษ๕๑๑ : ดนตรีศึกษาสำหรับเด็กพิศษ | 2 | ||
ดศดษ๕๑๓ : สัมมนาการสอนดนตรีตามแนวซูซูกิ | 2 | ||
ดศดษ๕๑๔ : สัมมนาการสอนดนตรีตามแนวโคดาย | 2 | ||
ดศดษ๕๑๖ : สัมมนาการสอนดนตรีตามแนวดาลโครซ | 2 | ||
ดศดษ๕๑๗ : นวัตกรรมการสอนดนตรีสำหรับเด็กเล็ก | 2 | ||
ดศธด๕๐๗ : นโยบายธุรกิจและการจัดการเชิงกลยุทธ์ในธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๐๘ : นวัตกรรมและเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๐ : การผลิตสื่อทางดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๑ : กลยุทธ์การจัดการศิลปิน | 2 | ||
ดศธด๕๑๒ : กลยุทธ์ธุรกิจดนตรีระดับสากล | 2 | ||
ดศธด๕๑๔ : การขายสินค้าดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๕ : การจัดการแสดงดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๒๒ : การวิเคราะห์ข้อมูลในธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดษดษ๕๑๕ : สัมมนาการสอนดนตรีตามแนวออร์ฟ | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ดศดน๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
ดศดว๕๒๑ : ภาพรวมของประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก | 1 | ||
ดศดว๕๒๒ : ภาพรวมของประวัติศาสตร์ดนตรีไทย | 1 | ||
ดศทพ๕๓๐ : ทบทวนทฤษฎีดนตรีตะวันตก | 1 | ||
ดศทอ๕๑๒ : ทบทวนทฤษฎีดนตรีไทย | 1 | ||
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
ดศดน๕๐๑ : ระเบียบวิธีวิจัยดนตรี | 2 | ||
ดศดน๕๐๔ : สัมมนาดนตรี | 2 | ||
ดศดน๕๙๖ : สัมมนาแนวคิด กระบวนทัศน์ และทักษะในงานดนตรี | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกธุรกิจดนตรี | |||
ดศธด๕๐๓ : การบริหารการเงินและการหาแหล่งทุนทางธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๐๔ : การจัดการทรัพย์สินทางปัญญาในธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๘ : กลยุทธ์การตลาดดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๙ : การเป็นผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๒๐ : ภาวะผู้นำในธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๒๑ : การวิจัยทางธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๒๓ : การจัดการธุรกิจดิจิทัลในอุตสาหกรรมดนตรี | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ดศดน๕๐๗ : การศึกษาด้วยตนเอง ๑ | 2 | ||
ดศดน๕๙๔ : หัวข้อศึกษาเฉพาะด้านดนตรี ๑ | 2 | ||
ดศดน๕๙๕ : หัวข้อศึกษาเฉพาะด้านดนตรี ๒ | 2 | ||
ดศดบ๕๑๐ : ดนตรีบำบัดในการฟื้นฟูสุขภาพ | 2 | ||
ดศดบ๕๑๖ : การวิจัยทางคลินิกในสาขาดนตรีบำบัด | 2 | ||
ดศดบ๕๑๗ : การปรึกษาสำหรับนักดนตรีบำบัด | 2 | ||
ดศดบ๕๑๙ : ดนตรีบำบัดในกลุ่มจิตเวช | 2 | ||
ดศดบ๕๒๐ : ดนตรีบำบัดในสถานพยาบาล | 2 | ||
ดศดบ๕๒๑ : ดนตรีบำบัดในโรงเรียน | 2 | ||
ดศดบ๕๒๒ : กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพื้นฐานสำหรับนักดนตรีบำบัด | 2 | ||
ดศดบ๕๒๓ : แนวโน้มของดนตรีบำบัด | 2 | ||
ดศดว๕๑๑ : ดนตรีในยุคโบราณ | 2 | ||
ดศดว๕๑๒ : ดนตรีในช่วงคอมมอนแพร็คทิส | 2 | ||
ดศดว๕๑๓ : ดนตรีในยุคศตวรรษที่ ๒๐ และ ๒๑ | 2 | ||
ดศดว๕๑๔ : บทวิจารณ์และประวัติศาสตร์ดนตรี | 2 | ||
ดศดว๕๑๗ : สัมมนาดนตรีพื้นบ้านไทย | 2 | ||
ดศดว๕๒๐ : สัมมนาดนตรีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | 2 | ||
ดศดว๕๒๖ : ประวัติและดุริยวรรณกรรมไทย | 2 | ||
ดศดว๕๒๗ : ความสัมพันธ์ของดนตรีไทยในวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขง | 2 | ||
ดศดษ๕๑๑ : ดนตรีศึกษาสำหรับเด็กพิศษ | 2 | ||
ดศดษ๕๑๓ : สัมมนาการสอนดนตรีตามแนวซูซูกิ | 2 | ||
ดศดษ๕๑๔ : สัมมนาการสอนดนตรีตามแนวโคดาย | 2 | ||
ดศดษ๕๑๖ : สัมมนาการสอนดนตรีตามแนวดาลโครซ | 2 | ||
ดศดษ๕๑๗ : นวัตกรรมการสอนดนตรีสำหรับเด็กเล็ก | 2 | ||
ดศธด๕๐๗ : นโยบายธุรกิจและการจัดการเชิงกลยุทธ์ในธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๐๘ : นวัตกรรมและเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๐ : การผลิตสื่อทางดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๑ : กลยุทธ์การจัดการศิลปิน | 2 | ||
ดศธด๕๑๒ : กลยุทธ์ธุรกิจดนตรีระดับสากล | 2 | ||
ดศธด๕๑๔ : การขายสินค้าดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๑๕ : การจัดการแสดงดนตรี | 2 | ||
ดศธด๕๒๒ : การวิเคราะห์ข้อมูลในธุรกิจดนตรี | 2 | ||
ดษดษ๕๑๕ : สัมมนาการสอนดนตรีตามแนวออร์ฟ | 2 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ดศดน๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิอร เตรัตนชัย (ประธานหลักสูตร)
- รองศาสตราจารย์ ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์
- ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พูนพิศ อมาตยกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรีญานันท์ พร้อมสุขกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตรีทิพ บุญแย้ม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำไพ บูรณประพฤกษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อนรรฆ จรัณยานนท์
- อาจารย์ กานต์ยุพา จิตติวัฒนา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธันยาภรณ์ โพธิกาวิน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐชยา นัจจนาวากุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไคล์ เฟียร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นัทธี เชียงชะนา