ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.eg.mahidol.ac.th/egmu/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน)
จุดเด่นของหลักสูตร
- เน้นทั้งวิศวกรรมและการจัดการทั้งในระดับโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
- เน้นการประยุกต์ใช้ทั้งในภาคการดูแลสุขภาพ อุตสาหกรรมและบริการ
- ได้รับปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ก แบบ ก๒ (๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต หลักสูตรในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ บริหารธุรกิจบัณฑิต หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) ผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (๕) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๒) ถึงข้อ (๔) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ข (๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต หลักสูตรในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ บริหารธุรกิจบัณฑิต หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน บริการสุขภาพ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า ๓ ปี (๔) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (๕) ผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (๖) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๒) ถึงข้อ (๕) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 15 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- บุคลากรระดับปฏิบัติการถึงผู้บริหารในองค์กรทั้งภาคเอกชน ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ทั้งในกิจการบริการสุขภาพ การผลิตสินค้าและบริการในแผนกที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เช่น ขนส่ง คลังสินค้า การบริการออกแบบและวางแผนด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
- ที่ปรึกษาด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
- นักวิจัยในสาขาโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วศอก๕๗๓ : ความน่าจะเป็นและสถิติสำหรับงานวิศวกรรม | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วศลซ๕๐๐ : หลักการจัดการวิศวกรรมโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | 3 | ||
วศลซ๕๐๑ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยและการประยุกต์ | 3 | ||
วศลซ๕๐๒ : โครงข่ายการขนส่งและการกระจายสินค้า | 3 | ||
วศลซ๕๐๓ : การจัดการสินค้าคงคลังและคลังสินค้า | 3 | ||
วศลซ๕๐๔ : สัมมนาประเด็นโลจิสติกส์สมัยใหม่และโซ่อุปทาน | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
กลุ่มวิชาโลจิสติกส์การดูแลสุขภาพ | |||
วศลซ๕๐๗ : การวิจัยปฏิบัติการทางโซ่อุปทานการดูแลสุขภาพ | 3 | ||
วศลซ๕๐๙ : โลจิสติกส์การดูแลสุขภาพแบบลีนและการปรับปรุงผลิตภาพ | 3 | ||
วศลซ๕๑๐ : การจัดการคุณภาพโดยรวมทางโซ่อุปทานการดูแลสุขภาพ | 3 | ||
วศลซ๕๑๑ : หัวข้อพิเศษทางโลจิสติกส์และโซ่อุปทานการดูแลสุขภาพ | 3 | ||
วศลซ๕๑๒ : สัมมนาทางโซ่อุปทานการดูสุขภาพระดับโลก | 3 | ||
วศลซ๕๒๑ : สารสนเทศทางสุขภาพและการจัดการสารสนเทศ | 3 | ||
วศลซ๕๒๒ : การจัดการโซ่อุปทานสุขภาพและโลจิสติกส์ในโรงพยาบาล | 3 | ||
กลุ่มวิชาโลจิสติกส์อุตสาหกรรมและบริการ | |||
วศลซ๕๑๓ : นวัตกรรมและโซ่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ | 3 | ||
วศลซ๕๑๕ : โลจิสติกส์และโซ่อุปทานบริการ | 3 | ||
วศลซ๕๑๖ : โลจิสติกส์และโซ่อุปทานด้านมนุษยธรรม | 3 | ||
วศลซ๕๑๗ : การเงินและการบัญชีเชิงจัดการ | 3 | ||
วศลซ๕๑๘ : การจำลองสถานการณ์ | 3 | ||
วศลซ๕๑๙ : หัวข้อพิเศษทางโลจิสติกส์อุตสาหกรรมและบริการ | 3 | ||
วศลซ๕๒๐ : สัมมนาทางโลจิสติกส์อุตสาหกรรมและบริการ | 3 | ||
วศลซ๕๒๓ : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการตัดสินใจด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | 3 | ||
วศลซ๕๒๔ : การเป็นผู้ประกอบและการสร้างธุรกิจใหม่ด้านโลจิสติกส์ | 3 | ||
วศลซ๕๒๕ : วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูลโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ | 3 | ||
วศลซ๕๒๖ : การประยุกต์ตัวแบบและเทคนิคการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ในงานโลจิสติกส์และ โซ่อุปทาน | 3 | ||
วศลซ๕๒๗ : ดิจิทัลโซ่อุปทานและแนวโน้มนวัตกรรมด้านธุรกิจโลจิสติกส์ | 3 | ||
วศลซ๕๒๘ : ระบบการผลิตแบบโตโยต้า | 3 | ||
วศลซ๕๒๙ : การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณขั้นสูงสำหรับโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วศลซ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วศอก๕๗๓ : ความน่าจะเป็นและสถิติสำหรับงานวิศวกรรม | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วศลซ๕๐๐ : หลักการจัดการวิศวกรรมโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | 3 | ||
วศลซ๕๐๑ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยและการประยุกต์ | 3 | ||
วศลซ๕๐๒ : โครงข่ายการขนส่งและการกระจายสินค้า | 3 | ||
วศลซ๕๐๓ : การจัดการสินค้าคงคลังและคลังสินค้า | 3 | ||
วศลซ๕๐๔ : สัมมนาประเด็นโลจิสติกส์สมัยใหม่และโซ่อุปทาน | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
กลุ่มวิชาโลจิสติกส์การดูแลสุขภาพ | |||
วศลซ๕๐๗ : การวิจัยปฏิบัติการทางโซ่อุปทานการดูแลสุขภาพ | 3 | ||
วศลซ๕๐๙ : โลจิสติกส์การดูแลสุขภาพแบบลีนและการปรับปรุงผลิตภาพ | 3 | ||
วศลซ๕๑๐ : การจัดการคุณภาพโดยรวมทางโซ่อุปทานการดูแลสุขภาพ | 3 | ||
วศลซ๕๑๑ : หัวข้อพิเศษทางโลจิสติกส์และโซ่อุปทานการดูแลสุขภาพ | 3 | ||
วศลซ๕๑๒ : สัมมนาทางโซ่อุปทานการดูสุขภาพระดับโลก | 3 | ||
วศลซ๕๒๑ : สารสนเทศทางสุขภาพและการจัดการสารสนเทศ | 3 | ||
วศลซ๕๒๒ : การจัดการโซ่อุปทานสุขภาพและโลจิสติกส์ในโรงพยาบาล | 3 | ||
กลุ่มวิชาโลจิสติกส์อุตสาหกรรมและบริการ | |||
วศลซ๕๑๓ : นวัตกรรมและโซ่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ | 3 | ||
วศลซ๕๑๕ : โลจิสติกส์และโซ่อุปทานบริการ | 3 | ||
วศลซ๕๑๖ : โลจิสติกส์และโซ่อุปทานด้านมนุษยธรรม | 3 | ||
วศลซ๕๑๗ : การเงินและการบัญชีเชิงจัดการ | 3 | ||
วศลซ๕๑๘ : การจำลองสถานการณ์ | 3 | ||
วศลซ๕๑๙ : หัวข้อพิเศษทางโลจิสติกส์อุตสาหกรรมและบริการ | 3 | ||
วศลซ๕๒๐ : สัมมนาทางโลจิสติกส์อุตสาหกรรมและบริการ | 3 | ||
วศลซ๕๒๓ : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการตัดสินใจด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | 3 | ||
วศลซ๕๒๔ : การเป็นผู้ประกอบและการสร้างธุรกิจใหม่ด้านโลจิสติกส์ | 3 | ||
วศลซ๕๒๕ : วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูลโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ | 3 | ||
วศลซ๕๒๖ : การประยุกต์ตัวแบบและเทคนิคการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ในงานโลจิสติกส์และ โซ่อุปทาน | 3 | ||
วศลซ๕๒๗ : ดิจิทัลโซ่อุปทานและแนวโน้มนวัตกรรมด้านธุรกิจโลจิสติกส์ | 3 | ||
วศลซ๕๒๘ : ระบบการผลิตแบบโตโยต้า | 3 | ||
วศลซ๕๒๙ : การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณขั้นสูงสำหรับโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วศลซ๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ เดชรัตน์ สัมฤทธิ์ (ประธานหลักสูตร)
- รองศาสตราจารย์ ธนัญญา วสุศรี
- รองศาสตราจารย์ ดวงพรรณ กริชชาญชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รณชัย ศิโรเวฐนุกูล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตวงยศ สุภีกิตย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิรพรรณ เลี่ยงโรคาพาธ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชูศักดิ์ โอกาศเจริญ
- อาจารย์ ปริญญา สิริอัตตะกุล
- รองศาสตราจารย์ วเรศรา วีระวัฒน์
- รองศาสตราจารย์ ภูมินท์ กิระวานิช
- อาจารย์ รวินกานต์ ศรีนนท์
- อาจารย์ เอกชัย วารินศิริรักษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิรดล ศิริธร
- อาจารย์ นทชัย วงษ์ชวลิตกุล
- รองศาสตราจารย์ อัศม์เดช วานิชชินชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมศิริ เซียววัฒนกุล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โษฑศ์รัตต ธรรมบุษดี