เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   26   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะวิศวกรรมศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.eg.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)

จุดเด่นของหลักสูตร

หลักสูตรเน้นการเรียนการสอนและการวิจัยใน ๓ ด้านหลัก คือ ด้านระบบสารสนเทศ (Information Systems) ด้านการประยุกต์ทางอุตสาหกรรม (Industrial Applications) และด้านความมั่นคงและนิติวิทยาเชิงเลข (Security and Digital Forensics) โดยภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดตั้งห้องปฏิบัติการ Digital Forensics สำหรับการเรียนการสอนและการวิจัยทางด้าน Difital Forensics

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

แผน ก แบบ ก ๒
๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องจากสถาบันในประเทศหรือต่างประเทศ
ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓ .ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก
เข้าศึกษาตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

แผน ข
๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องจากสถาบันในประเทศหรือต่างประเทศ
ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓. มีประสบการณ์การทำงานในสาขาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือนิติวิทยา
ไม่น้อยกว่า ๑ ปี
๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือก
เข้าศึกษาตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก ๒
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 21            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 39            หน่วยกิต
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 21            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
สารนิพนธ์ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 39            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ผู้ดูแลระบบสารสนเทศ ระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย
3. ผู้บริหารโครงการสารสนเทศ หรือหน่วยงานสารสนเทศ
4. นักนิติวิทยาเชิงเลข
5. วิศวกรคอมพิวเตอร์

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
วศคพ๕๐๑ : การวิเคราะห์เชิงตัวเลขประยุกต์ 3
วศคพ๕๓๑ : สถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์ 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วศคพ๖๐๒ : วิทยาระเบียบวิธีการวิจัย 2
วศคพ๖๒๒ : การทำเหมืองข้อมูล 3
วศคพ๖๓๒ : ระบบฝังตัวและการประยุกต์ 3
วศคพ๖๔๑ : กฎหมายและจริยศาสตร์ในวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3
วศคพ๖๖๑ : ระบบอัจฉริยะ 3
วศคพ๖๗๒ : วิทยาการรหัสลับและความมั่นคงบนเครือข่าย 3
วศคพ๖๗๔ : ความมั่นคงของสารสนเทศและการจัดการความเสี่ยง 3
วศคพ๖๙๑ : สัมมนา 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   กลุ่มวิชาระบบสารสนเทศ
วศคพ๖๒๓ : ระบบสารสนเทศวิสาหกิจ 3
วศคพ๖๒๔ : การคำนวณเชิงบริการ 3
วศคพ๖๒๕ : การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ 3
วศคพ๖๔๒ : การจัดการโครงการซอฟต์แวร์และความเปลี่ยนแปลง 3
วศคพ๖๖๓ : ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3
วศคพ๖๘๑ : การประเมินสมรรถนะและการปรับแต่งระบบ 3
วศคพ๖๘๒ : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์และสื่อประสม 3
วศคพ๖๘๓ : การสร้างตัวแบบและการจำลองทางคอมพิวเตอร์ 3
วศคพ๖๙๒ : หัวข้อพิเศษในระบบสารสนเทศ 3
   กลุ่มวิชาการประยุกต์ทางอุตสาหกรรม
วศคพ๖๒๕ : การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ 3
วศคพ๖๖๒ : ปัญญาประดิษฐ์และการรู้จำแบบ 3
วศคพ๖๖๔ : การเรียนรู้ของเครื่อง 3
วศคพ๖๖๕ : เครือข่ายประสาทเทียมและการประยุกต์ 3
วศคพ๖๗๓ : การคำนวณแบบเคลื่อนที่และเครือข่ายตัวรับรู้แบบไร้สาย 3
วศคพ๖๘๒ : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์และสื่อประสม 3
วศคพ๖๘๔ : การประมวลผลภาพและการประยุกต์ 3
วศคพ๖๙๓ : หัวข้อพิเศษในการประยุกต์ทางอุตสาหกรรม 3
   กลุ่มวิชาความมั่นคงและนิติวิทยาเชิงเลข
วศคพ๖๕๑ : การกระทำและวิธีดำเนินการกับหลักฐาน 3
วศคพ๖๕๒ : เทคนิคการกู้และตรวจสอบทางนิติวิทยาเชิงเลข 3
วศคพ๖๕๓ : เทคนิคและเครื่องมือนิติวิทยาเครือข่าย 3
วศคพ๖๕๔ : นิติวิทยาของระบบปฏิบัติการและระบบแฟ้มข้อมูล 3
วศคพ๖๗๑ : เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3
วศคพ๖๗๕ : การทดสอบเจาะระบบและการป้องกัน 3
วศคพ๖๘๔ : การประมวลผลภาพและการประยุกต์ 3
วศคพ๖๙๔ : หัวข้อพิเศษทางความมั่นคงและนิติวิทยาดิจิทัล 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วศคพ๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

แผน ข

หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
วศคพ๕๐๑ : การวิเคราะห์เชิงตัวเลขประยุกต์ 3
วศคพ๕๓๑ : สถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์ 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วศคพ๖๐๒ : วิทยาระเบียบวิธีการวิจัย 2
วศคพ๖๒๒ : การทำเหมืองข้อมูล 3
วศคพ๖๓๒ : ระบบฝังตัวและการประยุกต์ 3
วศคพ๖๔๑ : กฎหมายและจริยศาสตร์ในวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3
วศคพ๖๖๑ : ระบบอัจฉริยะ 3
วศคพ๖๗๒ : วิทยาการรหัสลับและความมั่นคงบนเครือข่าย 3
วศคพ๖๗๔ : ความมั่นคงของสารสนเทศและการจัดการความเสี่ยง 3
วศคพ๖๙๑ : สัมมนา 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   กลุ่มวิชาระบบสารสนเทศ
วศคพ๖๒๓ : ระบบสารสนเทศวิสาหกิจ 3
วศคพ๖๒๔ : การคำนวณเชิงบริการ 3
วศคพ๖๒๕ : การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ 3
วศคพ๖๔๒ : การจัดการโครงการซอฟต์แวร์และความเปลี่ยนแปลง 3
วศคพ๖๖๓ : ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3
วศคพ๖๘๑ : การประเมินสมรรถนะและการปรับแต่งระบบ 3
วศคพ๖๘๒ : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์และสื่อประสม 3
วศคพ๖๘๓ : การสร้างตัวแบบและการจำลองทางคอมพิวเตอร์ 3
วศคพ๖๙๒ : หัวข้อพิเศษในระบบสารสนเทศ 3
   กลุ่มวิชาการประยุกต์ทางอุตสาหกรรม
วศคพ๖๒๕ : การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ 3
วศคพ๖๖๒ : ปัญญาประดิษฐ์และการรู้จำแบบ 3
วศคพ๖๖๔ : การเรียนรู้ของเครื่อง 3
วศคพ๖๖๕ : เครือข่ายประสาทเทียมและการประยุกต์ 3
วศคพ๖๗๓ : การคำนวณแบบเคลื่อนที่และเครือข่ายตัวรับรู้แบบไร้สาย 3
วศคพ๖๘๒ : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์และสื่อประสม 3
วศคพ๖๘๔ : การประมวลผลภาพและการประยุกต์ 3
วศคพ๖๙๓ : หัวข้อพิเศษในการประยุกต์ทางอุตสาหกรรม 3
   กลุ่มวิชาความมั่นคงและนิติวิทยาเชิงเลข
วศคพ๖๕๑ : การกระทำและวิธีดำเนินการกับหลักฐาน 3
วศคพ๖๕๒ : เทคนิคการกู้และตรวจสอบทางนิติวิทยาเชิงเลข 3
วศคพ๖๕๓ : เทคนิคและเครื่องมือนิติวิทยาเครือข่าย 3
วศคพ๖๕๔ : นิติวิทยาของระบบปฏิบัติการและระบบแฟ้มข้อมูล 3
วศคพ๖๗๑ : เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3
วศคพ๖๗๕ : การทดสอบเจาะระบบและการป้องกัน 3
วศคพ๖๘๔ : การประมวลผลภาพและการประยุกต์ 3
วศคพ๖๙๔ : หัวข้อพิเศษทางความมั่นคงและนิติวิทยาดิจิทัล 3
สารนิพนธ์ หน่วยกิต
วศคพ๖๙๗ : สารนิพนธ์ 6

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. อาจารย์ กลกรณ์ วงศ์ภาติกะเสรี   (ประธานหลักสูตร)