ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.eg.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วิศวกรรมเครื่องกล)
จุดเด่นของหลักสูตร
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนในกลุ่มวิชาที่ตนเองมีความสนใจ ได้แก่ เมคคาทรอนิกส์ พลังงาน และยานยนต์
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ๑.๒ แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) ๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่า สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ๒. คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด ๓. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๒) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย แผน ๒ แบบวิชาชีพ ๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่า สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ๒. มีประสบการณ์ทำงานเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลหรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า ๑ ปี ๓. คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด ๔. ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ (๓) อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 12 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 12 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน 2 แบบวิชาชีพ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 12 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 18 | หน่วยกิต | |
การค้นคว้าอิสระ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- วิศวกรเครื่องกล : วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรซ่อมบำรุง วิศวกรออกแบบ วิศวกรพลังงาน วิศวกรควบคุมงานก่อสร้าง วิศวกรที่ปรึกษา วิศวกรประจำอาคาร เป็นต้น
- วิศวกรในหน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนด้านวิศวกรรมเครื่องกลหรือที่เกี่ยวข้อง
- นักวิจัยและนักวิชาการด้านวิศวกรรมเครื่องกลหรือที่เกี่ยวข้อง
- นวัตกรหรือผู้ประกอบการด้านวิศวกรรมเครื่องกลหรือที่เกี่ยวข้อง
- ประกอบอาชีพอื่นที่เกี่ยวข้อง
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วศคก๕๐๑ : กลศาสตร์วิศวกรรมและกลศาสตร์ของวัสดุ | 3 | ||
วศคก๕๐๒ : อุณหพลศาสตร์และกลศาสตร์ของไหล | 3 | ||
วศคก๕๐๓ : พลศาสตร์วิศวกรรมและการควบคุมอัตโนมัติ | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วศคก๕๐๗ : นวัตกรรมผลิตภัณฑ์และการเป็นผู้ประกอบการ | 3 | ||
วศคก๕๑๐ : คณิตศาสตร์วิศวกรรมขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๑๙ : การใช้ซอฟต์แวร์การจำลองเพื่อวิเคราะห์ทางกลศาสตร์และความร้อน | 3 | ||
วศคก๖๙๑ : สัมมนาวิศวกรรมเครื่องกล ๑ | 1 | ||
วศคก๖๙๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยด้านวิศวกรรมเครื่องกล | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
หมวดวิชาเลือกด้านวิศวกรรมกลศาสตร์ของแข็ง ชีวกลศาสตร์ และการออกแบบและการผลิต | |||
วศคก๕๑๑ : การวัดและเครื่องมือ | 3 | ||
วศคก๕๑๒ : วิธีการคำนวณทางวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
วศคก๕๑๕ : วิธีเชิงตัวเลขขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๑๖ : วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๒๑ : พลศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๒๓ : กลศาสตร์การแตกหัก | 3 | ||
วศคก๕๒๔ : เทคโนโลยีการผลิตพอลิเมอร์ | 3 | ||
วศคก๕๒๕ : การออกแบบเชิงวิศวกรรมสำหรับผลิตภัณฑ์ยาง | 3 | ||
วศคก๕๒๖ : การออกแบบและการผลิต | 3 | ||
วศคก๕๒๗ : ทฤษฎีความยืดหยุ่นและพลาสติก | 3 | ||
วศคก๕๒๙ : การสั่นสะเทือนเชิงกลขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๕๕ : แอโรอีลาสติกซิตี้และการออกแบบเครื่องบิน | 3 | ||
วศคก๕๕๖ : เทคโนโลยียานยนต์ขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๕๗ : เทคโนโลยีการผลิตด้านยานยนต์ | 3 | ||
วศคก๕๕๘ : พื้นฐานของรถยนต์ไฮบริดและรถยนต์ไฟฟ้า | 3 | ||
วศคก๕๕๙ : ชีวกลศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
หมวดวิชาเลือกด้านวิศวกรรมระบบความร้อนและพลังงาน | |||
วศคก๕๓๑ : อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๓๕ : ระบบความร้อน | 3 | ||
วศคก๕๓๖ : การถ่ายเทความร้อนและมวลขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๓๗ : กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๓๘ : ทฤษฎีการเผาไหม้ | 3 | ||
วศคก๕๓๙ : พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณด้วยวิธีปริมาตรจำกัด | 3 | ||
วศคก๕๔๑ : การปรับอากาศและการทำความเย็นขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๔๒ : การถ่ายเทความร้อนด้วยพลังงานไมโครเวฟ | 3 | ||
วศคก๕๔๓ : วิธีเชิงตัวเลขสำหรับการถ่ายเทความร้อน | 3 | ||
วศคก๕๔๖ : การถ่ายเทความร้อนและการไหลสองสถานะ | 3 | ||
วศคก๕๔๗ : การวิเคราะห์ทางการถ่ายเทความร้อนด้วยการคำนวณโดยใช้ซอฟต์แวร์จำลอง | 3 | ||
วศคก๕๘๑ : เทคโนโลยีพลังงานทดแทนขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๘๒ : เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ | 3 | ||
วศคก๕๘๓ : การจัดการพลังงานและการจำลองแบบด้านพลังงาน | 3 | ||
วศคก๕๘๔ : พื้นฐานของการสร้างแบบจำลองสารสนเทศอาคาร | 3 | ||
หมวดวิชาเลือกด้านวิศวกรรมระบบควบคุม หุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ | |||
วศคก๕๑๔ : วิธีการเชิงปัญญาประดิษฐ์สำหรับวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
วศคก๕๖๑ : การควบคุมเชิงเส้น | 3 | ||
วศคก๕๖๒ : การควบคุมเชิงเส้นอันดับสอง | 3 | ||
วศคก๕๖๓ : การควบคุมหลายตัวแปร | 3 | ||
วศคก๕๖๔ : หุ่นยนต์ | 3 | ||
วศคก๕๖๖ : ระบบอัตโนมัติ | 3 | ||
วศคก๕๖๗ : เมคคาทรอนิกส์ | 3 | ||
วศคก๕๖๘ : การควบคุมแบบป้อนล่วงหน้า | 3 | ||
วศคก๕๖๙ : ระบบไอโอทีสำหรับวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
หมวดวิชาเลือกด้านวิศวกรรมเครื่องกลเพิ่มเติม | |||
วศคก๕๙๑ : หัวข้อคัดสรรทางวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
วศคก๕๙๖ : หัวข้อคัดสรรทางกลศาสตร์ของแข็ง | 3 | ||
วศคก๖๙๓ : การฝึกงานทางวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
วศคด๕๙๒ : หัวข้อคัดสรรทางระบบความร้อนและพลังงาน | 3 | ||
วศคด๕๙๓ : หัวข้อคัดสรรทางระบบควบคุม | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วศคก๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วศคก๕๐๑ : กลศาสตร์วิศวกรรมและกลศาสตร์ของวัสดุ | 3 | ||
วศคก๕๐๒ : อุณหพลศาสตร์และกลศาสตร์ของไหล | 3 | ||
วศคก๕๐๓ : พลศาสตร์วิศวกรรมและการควบคุมอัตโนมัติ | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วศคก๕๐๗ : นวัตกรรมผลิตภัณฑ์และการเป็นผู้ประกอบการ | 3 | ||
วศคก๕๑๐ : คณิตศาสตร์วิศวกรรมขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๑๙ : การใช้ซอฟต์แวร์การจำลองเพื่อวิเคราะห์ทางกลศาสตร์และความร้อน | 3 | ||
วศคก๖๙๑ : สัมมนาวิศวกรรมเครื่องกล ๑ | 1 | ||
วศคก๖๙๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยด้านวิศวกรรมเครื่องกล | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
หมวดวิชาเลือกด้านวิศวกรรมกลศาสตร์ของแข็ง ชีวกลศาสตร์ และการออกแบบและการผลิต | |||
วศคก๕๑๑ : การวัดและเครื่องมือ | 3 | ||
วศคก๕๑๒ : วิธีการคำนวณทางวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
วศคก๕๑๕ : วิธีเชิงตัวเลขขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๑๖ : วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๒๑ : พลศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๒๓ : กลศาสตร์การแตกหัก | 3 | ||
วศคก๕๒๔ : เทคโนโลยีการผลิตพอลิเมอร์ | 3 | ||
วศคก๕๒๕ : การออกแบบเชิงวิศวกรรมสำหรับผลิตภัณฑ์ยาง | 3 | ||
วศคก๕๒๖ : การออกแบบและการผลิต | 3 | ||
วศคก๕๒๗ : ทฤษฎีความยืดหยุ่นและพลาสติก | 3 | ||
วศคก๕๒๙ : การสั่นสะเทือนเชิงกลขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๕๕ : แอโรอีลาสติกซิตี้และการออกแบบเครื่องบิน | 3 | ||
วศคก๕๕๖ : เทคโนโลยียานยนต์ขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๕๗ : เทคโนโลยีการผลิตด้านยานยนต์ | 3 | ||
วศคก๕๕๘ : พื้นฐานของรถยนต์ไฮบริดและรถยนต์ไฟฟ้า | 3 | ||
วศคก๕๕๙ : ชีวกลศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
หมวดวิชาเลือกด้านวิศวกรรมระบบความร้อนและพลังงาน | |||
วศคก๕๓๑ : อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๓๕ : ระบบความร้อน | 3 | ||
วศคก๕๓๖ : การถ่ายเทความร้อนและมวลขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๓๗ : กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๓๘ : ทฤษฎีการเผาไหม้ | 3 | ||
วศคก๕๓๙ : พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณด้วยวิธีปริมาตรจำกัด | 3 | ||
วศคก๕๔๑ : การปรับอากาศและการทำความเย็นขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๔๒ : การถ่ายเทความร้อนด้วยพลังงานไมโครเวฟ | 3 | ||
วศคก๕๔๓ : วิธีเชิงตัวเลขสำหรับการถ่ายเทความร้อน | 3 | ||
วศคก๕๔๖ : การถ่ายเทความร้อนและการไหลสองสถานะ | 3 | ||
วศคก๕๔๗ : การวิเคราะห์ทางการถ่ายเทความร้อนด้วยการคำนวณโดยใช้ซอฟต์แวร์จำลอง | 3 | ||
วศคก๕๘๑ : เทคโนโลยีพลังงานทดแทนขั้นสูง | 3 | ||
วศคก๕๘๒ : เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ | 3 | ||
วศคก๕๘๓ : การจัดการพลังงานและการจำลองแบบด้านพลังงาน | 3 | ||
วศคก๕๘๔ : พื้นฐานของการสร้างแบบจำลองสารสนเทศอาคาร | 3 | ||
หมวดวิชาเลือกด้านวิศวกรรมระบบควบคุม หุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ | |||
วศคก๕๑๔ : วิธีการเชิงปัญญาประดิษฐ์สำหรับวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
วศคก๕๖๑ : การควบคุมเชิงเส้น | 3 | ||
วศคก๕๖๒ : การควบคุมเชิงเส้นอันดับสอง | 3 | ||
วศคก๕๖๓ : การควบคุมหลายตัวแปร | 3 | ||
วศคก๕๖๔ : หุ่นยนต์ | 3 | ||
วศคก๕๖๖ : ระบบอัตโนมัติ | 3 | ||
วศคก๕๖๗ : เมคคาทรอนิกส์ | 3 | ||
วศคก๕๖๘ : การควบคุมแบบป้อนล่วงหน้า | 3 | ||
วศคก๕๖๙ : ระบบไอโอทีสำหรับวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
หมวดวิชาเลือกด้านวิศวกรรมเครื่องกลเพิ่มเติม | |||
วศคก๕๙๑ : หัวข้อคัดสรรทางวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
วศคก๕๙๖ : หัวข้อคัดสรรทางกลศาสตร์ของแข็ง | 3 | ||
วศคก๖๙๓ : การฝึกงานทางวิศวกรรมเครื่องกล | 3 | ||
วศคด๕๙๒ : หัวข้อคัดสรรทางระบบความร้อนและพลังงาน | 3 | ||
วศคด๕๙๓ : หัวข้อคัดสรรทางระบบควบคุม | 3 | ||
การค้นคว้าอิสระ | หน่วยกิต | ||
วศคก๖๙๖ : การค้นคว้าอิสระ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรศิษฐ์ ตรูทัศนวินท์ (ประธานหลักสูตร)
- รองศาสตราจารย์ ธนภัทร์ วานิชานนท์
- รองศาสตราจารย์ ปัญญา อรุณจรัสธรรม
- รองศาสตราจารย์ ชาคริต สุวรรณจำรัส
- รองศาสตราจารย์ เอกชัย ชัยชนะศิริ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วัชรพงษ์ ชูแก้ว
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เจษฎาภรณ์ ปริยดำกล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อิทธิโชติ จักรไพวงศ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวัลณัฎฐ์ เจริญเขษมมีสุข
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มชิมนต์ธรณ์ พรหมทอง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรทิพย์ แก่งอินทร์