เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   25   เมษายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีบูรณาการ (หลักสูตรนานาชาติ) (ภาคพิเศษ)

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะวิศวกรรมศาสตร์
เว็บไซต์ https://www.eg.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วิศวกรรมเคมีบูรณาการ)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

1. Holding a Bachelor's degree in engineering or science in related fields which accredited by the Office of the Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation
2. Having a cumulative GPA not less than 2.5
3. Having an English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies
4. Applicants with different qualifications from 2 and 3 may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Chemical engineers, process engineers, environmental engineers, safety engineers, consulting engineers, pharmaceutical engineers and engineers in related fields.
2. Researchers and scholars in related fields such as medical, biochemical and food industries.

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
วศคม๕๐๒ : จลนศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ 3
วศคม๕๐๓ : หลักการและการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วศคม๖๑๖ : เทคโนโลยีการนำพา จลนพลศาสตร์ และพลังงานขั้นสูง 3
วศคม๖๑๗ : เทคนิคการคำนวณและการหาค่าเหมาะที่สุดทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง 3
วศคม๖๑๘ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมเคมีบูรณาการ 3
วศคม๖๑๙ : อุณหพลศาสตร์และเทคโนโลยีสีเขียวทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง 3
วศคม๗๕๘ : สัมมนาทางวิศวกรรมเคมีบูรณาการ 1
วศคม๗๙๖ : การแก้ไขปัญหาเชิงอุตสาหกรรมในวิศวกรรมเคมีบูรณาการ 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วศคม๕๑๓ : ความรับผิดชอบทางสังคมขององค์กรทางวิศวกรรม 3
วศคม๕๑๕ : การจำลองและควบคุมกระบวนการทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง 3
วศคม๕๑๖ : ระบบพลังงานและความยั่งยืน 3
วศคม๕๑๗ : ความเป็นเลิศเชิงปฏิบัติการทางอุตสาหกรรมเคมี 3
วศคม๕๑๘ : เทคโนโลยีการบำบัดขั้นสูงสำหรับน้ำ น้ำเสีย และนำกลับมาใช้ใหม่ 3
วศคม๕๑๙ : การนำส่งและพัฒนายา 3
วศคม๕๒๐ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์และสูตรเครื่องสำอาง 3
วศคม๖๐๕ : กระบวนการแยกทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๑๓ : เทคโนโลยีอุปกรณ์รับรู้ 3
วศคม๖๑๕ : จลนศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์เคมีขั้นสูง 3
วศคม๖๒๐ : แบบจำลองและการจำลองทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๔๑ : การคำนวณเชิงตัวเลขทางวิศวกรรมกระบวนการอาหาร 3
วศคม๖๔๒ : เทคโนโลยีกระบวนการอาหารและเภสัชภัณฑ์ 3
วศคม๖๔๓ : การประเมินคุณภาพและคุณสมบัติของอาหาร 3
วศคม๖๔๕ : วิศวกรรมกระบวนการที่ไม่ใช้ความร้อน 3
วศคม๖๔๙ : การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงกระบวนการชีวภาพ 3
วศคม๖๗๑ : การจัดการโครงการสำหรับวิศวกร 3
วศคม๖๗๔ : การออกแบบอุปกรณ์ เครื่องมือ และกระบวนการทางเภสัชกรรม 3
วศคม๖๘๐ : ทฤษฎีการหาค่าเหมาะสมที่สุดทางกระบวนการเคมี 3
วศคม๖๘๑ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วศคม๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรชัย บำรุงศรี   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ มะลิ หุ่นสม
  3. ศาสตราจารย์ Mohammad Naghi Eshtiaghi
  4. รองศาสตราจารย์ จุฬารัตน์ ศักดารณรงค์
  5. รองศาสตราจารย์ อรรถพล ศรีฟ้า
  6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภัทรพร โปสกนิษฐกุล
  7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิระ ศรีนิเวศน์
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วนิดา คูอมรพัฒนะ
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรางคณา พรพุทธาพิทักษ์
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วีรวุฒิ ชัยวัฒน์
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรนารถ จงเลิศจรรยา
  12. รองศาสตราจารย์ ณัฐธีร์ อัครวัฒน์โฆษิต
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภูมิวัต ผดุงบุตร
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาคร ราชหาด
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพย์รวี ทองธรรมชาติ
  16. อาจารย์ สุธิดา บุญสิทธิ์
  17. อาจารย์ ปรารถนา นิมมานเทอดวงศ์
  18. อาจารย์ สุนทร ตันติถาวรวัฒน์