เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   20   กันยายน   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีบูรณาการ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะวิศวกรรมศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.eg.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วิศวกรรมเคมีบูรณาการ)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

๑. เป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหรือวิทยาศาสตรบัณฑิตในสาขาที่เกี่ยวข้อง
๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
๓. ผู้สมัครเข้าศึกษาซึ่งอยู่นอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้  อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัด
เลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก ๒
หมาดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 14            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 38            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- วิศวกรเคมีและวิศวกรกระบวนการ หรือวิศวกรในสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถออกแบบ และควบคุม ระบบในกระบวนการผลิตต่างๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม
- วิศวกรสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
- วิศวกรที่ปรึกษาโรงงาน
- นักวิจัยและนักวิชาการ

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
วศคม๕๐๑ : กระบวนการนำพา 3
วศคม๕๐๒ : จลนศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ 3
วศคม๕๐๓ : หลักการและการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๕๐๔ : เคมีอาหารและชีวเคมี 3
วศคม๕๐๕ : จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม 3
วศคม๕๐๘ : อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วศคม๖๐๑ : เทคนิคการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๐๒ : กระบวนการทางสถิติและการออกแบบการทดลอง 2
วศคม๖๐๗ : ปรากฏการณ์การนำพาขั้นสูง 3
วศคม๖๐๘ : อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง 3
วศคม๖๙๑ : สัมมนา 1
วศคม๖๙๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย 1
วศคม๖๙๓ : การทำงานโครงงาน 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   กลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมีขั้นสูง
วศคม๖๐๕ : กระบวนการแยกทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๐๖ : วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย 3
วศคม๖๑๓ : เทคโนโลยีอุปกรณ์รับรู้ 3
วศคม๖๑๕ : จลนศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์เคมีขั้นสูง 3
วศคม๖๑๗ : เทคโนโลยีอนุภาคขั้นสูง 3
วศคม๖๑๘ : วิศวกรรมเคมีไฟฟ้าและการกัดกร่อน 3
วศคม๖๑๙ : กระบวนการเร่งปฏิกิริยาในอุตสาหกรรม 3
วศคม๖๒๐ : แบบจำลองและการจำลองทางวิศวกรรมเคมี 3
วศชพ๖๐๔ : อุปกรณ์รับรู้ทางชีววิทยา 3
วศชพ๖๑๐ : เครือข่ายระบบประสาท 3
วศชพ๖๕๓ : ระบบอัจฉริยะ 3
   กลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมีอาหารและกระบวนการชีวภาพ
วศคม๖๔๑ : การคำนวณเชิงตัวเลขทางวิศวกรรมกระบวนการอาหาร 3
วศคม๖๔๒ : เทคโนโลยีกระบวนการอาหารและเภสัชภัณฑ์ 3
วศคม๖๔๓ : คุณสมบัติอาหารและการประเมินคุณภาพ 3
วศคม๖๔๕ : วิศวกรรมกระบวนการที่ไม่ใช้ความร้อน 3
วศคม๖๔๗ : เทคโนโลยีการหมักขั้นสูง 3
วศคม๖๔๙ : การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงกระบวนการชีวภาพ 3
วศคม๖๕๐ : วิศวกรรมชีวเคมีขั้นสูง 3
วศคม๖๕๑ : เทคโนโลยีเอนไซม์ขั้นสูง 3
วศคม๖๘๐ : ทฤษฎีการหาค่าเหมาะสมที่สุดทางกระบวนการเคมี 3
วศคม๖๘๑ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๒ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๓ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๔ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๕ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๖ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๗ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๘ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
วศคม๖๘๙ : หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมเคมี 3
   กลุ่มวิชาวิศวกรรมเภสัช
วศคม๖๗๑ : การจัดการโครงการสำหรับวิศวกร 3
วศคม๖๗๔ : การออกแบบอุปกรณ์ เครื่องมือ และกระบวนการผลิตทางเภสัชกรรม 3
วศคม๖๗๕ : เภสัชจลนศาสตร์ และการนำส่งยา 3
วศชพ๖๓๑ : การนำส่งยาขั้นสูง 3
วศชพ๖๓๒ : ปรากฏการณ์ขนส่งทางสรีรวิทยา 3
วศชพ๖๓๓ : พอลิเมอร์ทางชีวการแพทย์ 3
วศชพ๖๓๔ : ชีววัสดุและความเข้ากันได้ทางชีววิทยา 3
วศชพ๖๓๕ : เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3
วศชพ๖๕๑ : ชีวสารสนเทศ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วศคม๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

อาจารย์ประจำหลักสูตร