ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการสมาร์ต (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.eg.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วิศวกรรมอุตสาหการสมาร์ต)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ก แบบ ก๒ (๑) สำเร็จการศึกษาปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง หรือ (๒) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่น จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง (๓) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๔) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย (๕) กรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (๖) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ ๓ ถึงข้อ ๕ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาในแผน ข (๑) สำเร็จการศึกษาปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง หรือ (๒) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่น จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง (๓) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๔) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย (๕) มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมอุตสาหการสมาร์ตไม่น้อยกว่า ๒ ปี (๖) กรณีผู้สมัครชาวต่างชาติ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐานความรู้ภาษาไทยขั้นต่ำสำหรับชาวต่างชาติที่มาศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (๗) ผู้ที่มีคุณสมบัติต่างจากที่กำหนดในข้อ ๓ ถึงข้อ ๖ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 15 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- วิศวกรอุตสาหการหรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
- นักวิจัยด้านวิศวกรรมอุตสาหการการผลิตและโลจิสติกส์
- ผู้ให้คำปรึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์และบริหารจัดการ
- ผู้ปฎิบัติงานในองค์กร ภาครัฐ และภาคเอกชน
- ผู้ประกอบอาชีพตามสถานประกอบการด้านกลยุทธ์โลจิสติกส์ รวมถึงการจัดการคลังสินค้า การขนส่ง การกระจายสินค้า การวางแผนการผลิต การจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น
- ผู้ประกอบการที่เน้นพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมและการจัดการ
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วศอก๕๗๐ : ความน่าจะเป็นและสถิติ | 3 | ||
วศอก๕๗๑ : การวิจัยปฏิบัติการ | 3 | ||
วศอก๕๗๒ : การวางแผนและควบคุมการผลิต | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วศอก๕๐๒ : ความคิดและแบบจำลองระบบ | 3 | ||
วศอก๕๐๘ : การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงนวัตกรรม | 3 | ||
วศอก๕๐๙ : การเป็นผู้ประกอบการอย่างยั่งยืน | 3 | ||
วศอก๕๕๑ : สัมมนาทางวิศวกรรมอุตสาหการสมาร์ต | 1 | ||
วศอก๕๕๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
วศอก๕๕๔ : การจัดการวิศวกรรมและการผลิตสมาร์ต | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
กลุ่มวิชาระบบการผลิตสมาร์ต | |||
วศอก๕๒๒ : การผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุ | 3 | ||
วศอก๕๒๓ : กระบวนการตัดปาดทางกลขั้นสูง | 3 | ||
วศอก๕๒๔ : กระบวนการผลิตอัตโนมัติและการผลิตแบบบูรณาการด้วยคอมพิวเตอร์ | 3 | ||
วศอก๕๒๖ : ทำด้วยตัวเองสำหรับเครื่องมือระบบอัตโนมัติสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๒๗ : กระบวนการทางดิจิทัลของการผลิตสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๒๘ : การเรียนรู้เครื่องจักรและปัญญาประดิษฐ์ในโรงงานอุตสาหกรรมสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๔๖ : กระบวนการเชื่อมและการควบคุมสมบัติรอยต่อขั้นสูง | 3 | ||
วศอก๕๖๖ : โลหะวิทยาอุตสาหกรรมและวัสดุศาสตร์ขั้นสูงสำหรับอุตสาหกรรมการแพทย์ | 3 | ||
วศอก๕๖๗ : ระบบการผลิตแบบไซเบอร์-กายภาพ | 3 | ||
วศอก๕๙๑ : การผลิตเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขัน | 3 | ||
วศอก๖๓๓ : หัวข้อพิเศษทางระบบการผลิตสมาร์ต | 3 | ||
กลุ่มวิชาการจัดการวิศวกรรมสมาร์ต | |||
วศอก๕๐๕ : สถิติวิศวกรรมและการวิจัยปฏิบัติการประยุกต์ | 3 | ||
วศอก๕๑๓ : การวัดผลการดำเนินงานโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | 3 | ||
วศอก๕๓๐ : การวิเคราะห์ข้อมูลในการจัดการวิศวกรรม | 3 | ||
วศอก๕๓๒ : การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๓๔ : วิธีการสถิติสำหรับวิศกรรมความน่าเชื่อถือได้ | 3 | ||
วศอก๕๓๖ : ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจแบบชาญฉลาด | 3 | ||
วศอก๕๓๘ : การออกแบบและจัดสมดุลสายการประกอบเชิงปรับตัวสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๔๗ : การเงินและการบัญชีเชิงการจัดการ | 3 | ||
วศอก๕๙๔ : ระบบการผลิตและบริการแบบลีน | 3 | ||
วศอก๕๙๕ : การจัดการสินค้าคงคลังสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๙๖ : การจัดการคลังสินค้าสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๙๗ : การจัดการโครงการสำหรับอุตสาหกรรม ๔.๐ | 3 | ||
วศอก๕๙๘ : การจัดการโลจิสติกส์โซ่อุปทานและโรงพยาบาล | 3 | ||
วศอก๕๙๙ : การเดินรถไฟและระบบอาณัติสัญญาณ | 3 | ||
วศอก๖๒๒ : การจัดการคุณภาพ | 3 | ||
วศอก๖๔๓ : หัวข้อพิเศษทางการจัดการวิศวกรรมสมาร์ต | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วศอก๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วศอก๕๗๐ : ความน่าจะเป็นและสถิติ | 3 | ||
วศอก๕๗๑ : การวิจัยปฏิบัติการ | 3 | ||
วศอก๕๗๒ : การวางแผนและควบคุมการผลิต | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วศอก๕๐๒ : ความคิดและแบบจำลองระบบ | 3 | ||
วศอก๕๐๘ : การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงนวัตกรรม | 3 | ||
วศอก๕๐๙ : การเป็นผู้ประกอบการอย่างยั่งยืน | 3 | ||
วศอก๕๕๑ : สัมมนาทางวิศวกรรมอุตสาหการสมาร์ต | 1 | ||
วศอก๕๕๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
วศอก๕๕๔ : การจัดการวิศวกรรมและการผลิตสมาร์ต | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
กลุ่มวิชาระบบการผลิตสมาร์ต | |||
วศอก๕๒๒ : การผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุ | 3 | ||
วศอก๕๒๓ : กระบวนการตัดปาดทางกลขั้นสูง | 3 | ||
วศอก๕๒๔ : กระบวนการผลิตอัตโนมัติและการผลิตแบบบูรณาการด้วยคอมพิวเตอร์ | 3 | ||
วศอก๕๒๖ : ทำด้วยตัวเองสำหรับเครื่องมือระบบอัตโนมัติสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๒๗ : กระบวนการทางดิจิทัลของการผลิตสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๒๘ : การเรียนรู้เครื่องจักรและปัญญาประดิษฐ์ในโรงงานอุตสาหกรรมสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๔๖ : กระบวนการเชื่อมและการควบคุมสมบัติรอยต่อขั้นสูง | 3 | ||
วศอก๕๖๖ : โลหะวิทยาอุตสาหกรรมและวัสดุศาสตร์ขั้นสูงสำหรับอุตสาหกรรมการแพทย์ | 3 | ||
วศอก๕๖๗ : ระบบการผลิตแบบไซเบอร์-กายภาพ | 3 | ||
วศอก๕๙๑ : การผลิตเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขัน | 3 | ||
วศอก๖๓๓ : หัวข้อพิเศษทางระบบการผลิตสมาร์ต | 3 | ||
กลุ่มวิชาการจัดการวิศวกรรมสมาร์ต | |||
วศอก๕๐๕ : สถิติวิศวกรรมและการวิจัยปฏิบัติการประยุกต์ | 3 | ||
วศอก๕๑๓ : การวัดผลการดำเนินงานโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | 3 | ||
วศอก๕๓๐ : การวิเคราะห์ข้อมูลในการจัดการวิศวกรรม | 3 | ||
วศอก๕๓๒ : การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๓๔ : วิธีการสถิติสำหรับวิศกรรมความน่าเชื่อถือได้ | 3 | ||
วศอก๕๓๖ : ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจแบบชาญฉลาด | 3 | ||
วศอก๕๓๘ : การออกแบบและจัดสมดุลสายการประกอบเชิงปรับตัวสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๔๗ : การเงินและการบัญชีเชิงการจัดการ | 3 | ||
วศอก๕๙๔ : ระบบการผลิตและบริการแบบลีน | 3 | ||
วศอก๕๙๕ : การจัดการสินค้าคงคลังสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๙๖ : การจัดการคลังสินค้าสมาร์ต | 3 | ||
วศอก๕๙๗ : การจัดการโครงการสำหรับอุตสาหกรรม ๔.๐ | 3 | ||
วศอก๕๙๘ : การจัดการโลจิสติกส์โซ่อุปทานและโรงพยาบาล | 3 | ||
วศอก๕๙๙ : การเดินรถไฟและระบบอาณัติสัญญาณ | 3 | ||
วศอก๖๒๒ : การจัดการคุณภาพ | 3 | ||
วศอก๖๔๓ : หัวข้อพิเศษทางการจัดการวิศวกรรมสมาร์ต | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วศอก๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ เอกชัย วารินศิริรักษ์ (ประธานหลักสูตร)
- รองศาสตราจารย์ ธนัญญา วสุศรี
- รองศาสตราจารย์ ดวงพรรณ กริชชาญชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สรนาถ ไรภู
- รองศาสตราจารย์ ศุภชัย นาทะพันธ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รณชัย ศิโรเวฐนุกูล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนกรณ์ แน่นหนา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตวงยศ สุภีกิตย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิรพรรณ เลี่ยงโรคาพาธ
- อาจารย์ นพกร ภู่ระย้า
- รองศาสตราจารย์ วเรศรา วีระวัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิรดล ศิริธร
- รองศาสตราจารย์ เดชรัตน์ สัมฤทธิ์
- รองศาสตราจารย์ อัศม์เดช วานิชชินชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภชัญ ราษฎร์ศิริ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เกียรติศักดิ์ ศรีตระกูลชัย
- รองศาสตราจารย์ สุรโชค ธนพิทักษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มงคล เทียนวิบูลย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นริศ หนูหอม