ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
https://www.eg.mahidol.ac.th/dept/egen/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
Plan A2 (1) Students must hold a bachelor's degree in any field of engineering or science from higher education institutions accredited by the Office of the Higher Education Commission. (2) Must have a cumulative GPA of at least 2.50. (3) Must have English scores according to the requirements of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University. (4) Exceptions to items (2) and (3) may be made by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies. (5) Students who are interested in studying at the Graduate School of Global Environmental Studies, Kyoto University, Japan, must have English scores according to the requirements of the Graduate School of Global Environmental Studies, Kyoto University. Plan B (1) Students must hold a bachelor's degree in any field of engineering or science from higher education institutions accredited by the Office of the Higher Education Commission. (2) Must have a cumulative GPA of at least 2.50. (3) Must have English scores according to the requirements of the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University. (4) Exceptions to items (2) and (3) may be made by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 15 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. Environmental or sanitary engineer, water resources engineer with the expertise to work for government agencies and private companies in the Environmental Engineering or the Water Resources Engineering fields. 2. Researchers, academic experts who are highly skilled and capable in applying knowledge gained from the Environmental and Water Resources Engineering Program for research and development. 3. Consultants to motivate and assist the government in the development of policies, laws, and regulations for the protection, preservation, and management of the environment and water resources. 4. Entrepreneurs in the Environmental and Water Resources Engineering fields.
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก1
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
วศสท๕๐๔ : พื้นฐานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ | 3 |
แผน ก แบบ ก2
วศสท๕๐๔ : พื้นฐานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ | 3 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วศสท๕๑๑ : วิศวกรรมคุณภาพน้ำ | 3 | ||
วศสท๕๑๓ : การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย | 3 | ||
วศสท๕๒๐ : ระบบสุขาภิบาลและการให้บริการ | 3 | ||
วศสท๕๒๑ : ระบบทรัพยากรน้ำและการสร้างแบบจำลอง | 3 | ||
วศสท๕๒๒ : สัมมนาวิจัยทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
๓๐๐๗ : สัมมนาการจัดการสิ่งแวดล้อม ก | 1 | ||
๓๐๐๘ : สัมมนาการจัดการสิ่งแวดล้อม ข | 1 | ||
๓๑๐๓ : การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโลก | 2 | ||
๓๑๐๔ : จริยธรรมสิ่งแวดล้อมและการศึกษาสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
๓๑๐๕ : นโยบายและเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมโลก | 2 | ||
๓๑๐๖ : วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมโลก | 2 | ||
๓๒๑๕ : การวางแผนระดับภูมิภาคและการจัดการที่ดิน | 1 | ||
๓๒๕๑ : การจัดการลุ่มน้ำและสิ่งแวดล้อมทางน้ำ | 1 | ||
๓๓๘๐ : แบบฝึกหัดพื้นฐานในการจัดการสิ่งแวดล้อม | 1 | ||
๓๖๐๑ : การประมวลผลข้อมูลเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
๔๕๐๑ : ภาวะผู้นำด้านสิ่งแวดล้อม ก | 1 | ||
๔๕๐๑ : วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมใหม่ ๑, ขั้นสูง | 2 | ||
วศสท๕๑๔ : การศึกษาความเหมาะสมสำหรับโครงการทรัพยากรน้ำ | 3 | ||
วศสท๕๕๔ : การวิเคราะห์ระบบโครงข่ายสุขาภิบาลและสาธารณสุข | 3 | ||
วศสท๕๕๕ : เทคโนโลยีระบบสุขาภิบาล | 3 | ||
วศสท๕๕๖ : การออกแบบระบบสุขาภิบาล | 3 | ||
วศสท๕๕๗ : การจัดการคุณภาพอากาศและการควบคุมมลพิษ | 3 | ||
วศสท๕๕๘ : กระบวนการทางเคมีกายภาพสำหรับระบบบำบัดน้ำและน้ำเสีย | 3 | ||
วศสท๕๕๙ : กระบวนการทางชีวภาพและระบบบำบัดน้ำเสีย | 3 | ||
วศสท๕๖๐ : เศรษฐกิจหมุนเวียนและการนำของเสียกลับมาใช้ซ้ำและการแปรรูปใช้ใหม่ | 3 | ||
วศสท๕๖๑ : วิศวกรรมและการจัดการวัฏจักรชีวิต | 3 | ||
วศสท๕๖๒ : สารมลพิษอุบัติใหม่ในสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
วศสท๕๖๓ : การวิเคราะห์และบรรเทาอุทกภัย | 3 | ||
วศสท๕๖๔ : อุทกสารสนเทศทางวิศวกรรมทรัพยากรน้ำขั้นสูง | 3 | ||
วศสท๕๖๕ : ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อทรัพยากรน้ำ | 3 | ||
วศสท๕๖๖ : เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน | 3 | ||
วศสท๕๖๗ : การศึกษาพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วศสท๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วศสท๕๑๑ : วิศวกรรมคุณภาพน้ำ | 3 | ||
วศสท๕๑๓ : การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย | 3 | ||
วศสท๕๒๐ : ระบบสุขาภิบาลและการให้บริการ | 3 | ||
วศสท๕๒๑ : ระบบทรัพยากรน้ำและการสร้างแบบจำลอง | 3 | ||
วศสท๕๒๒ : สัมมนาวิจัยทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
๓๐๐๗ : สัมมนาการจัดการสิ่งแวดล้อม ก | 1 | ||
๓๐๐๘ : สัมมนาการจัดการสิ่งแวดล้อม ข | 1 | ||
๓๑๐๓ : การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโลก | 2 | ||
๓๑๐๔ : จริยธรรมสิ่งแวดล้อมและการศึกษาสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
๓๑๐๕ : นโยบายและเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมโลก | 2 | ||
๓๑๐๖ : วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมโลก | 2 | ||
๓๒๑๕ : การวางแผนระดับภูมิภาคและการจัดการที่ดิน | 1 | ||
๓๒๕๑ : การจัดการลุ่มน้ำและสิ่งแวดล้อมทางน้ำ | 1 | ||
๓๓๘๐ : แบบฝึกหัดพื้นฐานในการจัดการสิ่งแวดล้อม | 1 | ||
๓๖๐๑ : การประมวลผลข้อมูลเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
๔๕๐๑ : ภาวะผู้นำด้านสิ่งแวดล้อม ก | 1 | ||
๔๕๐๑ : วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมใหม่ ๑, ขั้นสูง | 2 | ||
วศสท๕๑๔ : การศึกษาความเหมาะสมสำหรับโครงการทรัพยากรน้ำ | 3 | ||
วศสท๕๕๔ : การวิเคราะห์ระบบโครงข่ายสุขาภิบาลและสาธารณสุข | 3 | ||
วศสท๕๕๕ : เทคโนโลยีระบบสุขาภิบาล | 3 | ||
วศสท๕๕๖ : การออกแบบระบบสุขาภิบาล | 3 | ||
วศสท๕๕๗ : การจัดการคุณภาพอากาศและการควบคุมมลพิษ | 3 | ||
วศสท๕๕๘ : กระบวนการทางเคมีกายภาพสำหรับระบบบำบัดน้ำและน้ำเสีย | 3 | ||
วศสท๕๕๙ : กระบวนการทางชีวภาพและระบบบำบัดน้ำเสีย | 3 | ||
วศสท๕๖๐ : เศรษฐกิจหมุนเวียนและการนำของเสียกลับมาใช้ซ้ำและการแปรรูปใช้ใหม่ | 3 | ||
วศสท๕๖๑ : วิศวกรรมและการจัดการวัฏจักรชีวิต | 3 | ||
วศสท๕๖๒ : สารมลพิษอุบัติใหม่ในสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
วศสท๕๖๓ : การวิเคราะห์และบรรเทาอุทกภัย | 3 | ||
วศสท๕๖๔ : อุทกสารสนเทศทางวิศวกรรมทรัพยากรน้ำขั้นสูง | 3 | ||
วศสท๕๖๕ : ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อทรัพยากรน้ำ | 3 | ||
วศสท๕๖๖ : เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน | 3 | ||
วศสท๕๖๗ : การศึกษาพิเศษทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ | 3 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วศสท๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณวัชร สุรินทร์กุล (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาทิตย์ โพธิ์ศรี
- รองศาสตราจารย์ อารียา ฤทธิมา
- อาจารย์ นรินทร์ บุญตานนท์
- รองศาสตราจารย์ กาญจนา นาคะภากร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วัจนันท์ มัตติทานนท์
- อาจารย์ กฤษณัส สุรกิตย์
- รองศาสตราจารย์ สุวรรณา บุญตานนท์
- รองศาสตราจารย์ กฤตณะ พฤกษากร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรันย์ ศรีรัตนา ทาบูกานอน
- อาจารย์ วุฒิชาติ แสวงผล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เอริกา พฤฒิกิตติ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รมณีย์ ทองดารา
- รองศาสตราจารย์ ตระการ ประภัสพงษา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิดาภา ไกรสังข์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุวิสา มหาสันทนะ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วีรวุฒิ ชัยวัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุทธนา พันธุ์กมลศิลป์
- ศาสตราจารย์ Chettiyappan Visvanathan