เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   1   พฤษภาคม   พ.ศ. 2568

ผู้สนใจเข้าศึกษา


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการขั้นสูงทางชีวการแพทย์และการสร้างสรรค์ธุรกิจสุขภาพ (ภาคพิเศษ)

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน บัณฑิตวิทยาลัย
เว็บไซต์

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาการขั้นสูงทางชีวการแพทย์และการสร้างสรรค์ธุรกิจสุขภาพ)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

คุณสมบัติทั่วไป:
- ผู้สมัครต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาที่เกี่ยวข้อง หรือกำลังศึกษาอยู่
- มีผลคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ไม่ต่ำกว่า 2.5 จากเต็ม 4.0 หรือเทียบเท่า
- มีความสามารถทางภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ
- คุณสมบัติเพิ่มเติม ตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด

คุณสมบัติพิเศษอื่น:
- ผู้ที่มีประสบการณ์การทำงานในสถานประกอบการหรืออุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อาจได้รับการพิจารณาเทียบโอนหน่วยกิต โดยต้องยื่นเอกสารประกอบ ดังนี้
  o แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio): แนะนำให้ผู้สมัครยื่นแฟ้มสะสมผลงาน แสดงรายละเอียดประสบการณ์การทำงาน รวมถึงคำอธิบายหน้าที่ ความรับผิดชอบ โครงการ กิจกรรมพัฒนาตนเอง และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง
  o หนังสือรับรองการทำงาน: หนังสือรับรองการทำงานจากนายจ้างหรือหัวหน้า เพื่อยืนยันประสบการณ์การทำงานของผู้สมัคร
- โครงการปริญญาควบ (ปริญญาตรี-โท)  สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่กำลังศึกษาอยู่ โดยมีคุณสมบัติหรือแนวทางการพิจารณา ดังนี้
  o ผลคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ขั้นต่ำ: ไม่ต่ำกว่า 2.5 จากเต็ม 4.0 หรือเทียบเท่า ในหลักสูตรปริญญาตรีที่กำลังศึกษาอยู่
  o ใบแจ้งความประสงค์ (Statement of Purpose; SOP): ผู้สมัครต้องแนบใบแจ้งความประสงค์ (SOP) ที่อธิบายเหตุผลในการสมัครโครงการปริญญาควบ และเชื่อมโยงกับเป้าหมายทางการศึกษาและอาชีพ บทความควรมีความยาวประมาณ 1 หน้า
  o ตัวอย่างผลงานเขียน: ผู้สมัครต้องยื่นตัวอย่างผลงานเขียน เช่น บทความเรียงความ หรือรายงานวิจัย เพื่อแสดงทักษะการเขียนและการคิดวิเคราะห์ บทความควรมีความยาวประมาณ 1-2 หน้า
  o การสัมภาษณ์หรือการประเมิน: ผู้สมัครจะต้องเข้าร่วมการสัมภาษณ์หรือกระบวนการประเมิน เพื่อประเมินความรู้และความพร้อมสำหรับการเรียนระดับบัณฑิตศึกษา
  o หลักสูตรเตรียมความพร้อม: สำหรับผู้สมัครที่มีคุณสมบัติไม่ตรงตามเกณฑ์เบื้องต้น บัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณาจัดรายวิชาเตรียมความพร้อม เพื่อช่วยให้ปรับพื้นฐานความรู้และสร้างความพร้อมสำหรับการเข้าร่วมโครงการปริญญาควบ
  o การติดตามผลการศึกษาอย่างต่อเนื่อง: เมื่อได้รับการคัดเลือก นักศึกษาโครงการปริญญาควบจะได้รับการติดตามผลการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ในช่วงภาคเรียนแรกๆ ของหลักสูตรปริญญาโท เพื่อให้การสนับสนุนและแก้ไขจุดอ่อนที่ต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม
- การเรียนรู้ผ่าน MAP-C (Mahidol Apprenticeship Program-Curriculum) หรือ Microcredentials ของมหาวิทยาลัยมหิดล: หน่วยกิตจากการดำเนินการเหล่านี้สามารถนำมาพิจารณาเพื่อเทียบโอนเป็นวิชาพื้นฐานหรือวิชาเลือกในหลักสูตรนี้ได้
- ใบรับรองการอบรมจากหลักสูตรอื่นๆ สามารถนำมาพิจารณาเทียบโอนหน่วยกิตในหลักสูตรนี้ได้ โดยผู้รับผิดชอบหลักสูตรสามารถดำเนินการวัดหรือประเมินผล เพื่อยืนยันว่าผู้เรียนสามารถเทียบโอนประสบการณ์นั้นกับสมรรถนะที่กำหนดได้

โครงสร้างหลักสูตร

แผน 2 แบบวิชาชีพ
หมวดวิชาบังคับ 10            หน่วยกิต
หมวดวิชาแกน และหมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 20-23            หน่วยกิต
การค้นคว้าอิสระ หรือการฝึกงาน 3-6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ข

หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
   Major in Medical devices
: PRODUCT DEVELOPMENT FOR IVD & NON IVD MEDICAL DEVICES 2
: 3
: 2
ทนคร๕๒๖ : การบริหารจัดการธุรกิจสุขภาพ 2
ทนคร๕๓๗ : เทคโนโลยีการวิจัย และการจัดการนวัตกรรม 2
ทนคร๕๔๒ : การประเมินความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ 2
   Major in Drug discovery & development
ภกกภ๕๐๐ : การกำกับดูแลยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3
ภกกภ๕๐๒ : ระบบจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพ 3
ภกกภ๕๐๘ : กระบวนการค้นพบยาและพัฒนาเภสัชภัณฑ์ 3
ภกภก๖๓๗ : ธุรกิจยาระหว่างประเทศ 2
ภกภก๖๖๐ : เภสัชการขั้นสูง ๑ 3
ภกภก๖๖๓ : การพัฒนาเภสัชผลิตภัณฑ์ ๑ 3
ภกภค๖๓๙ : การวิเคราะห์ทางเภสัชขั้นสูง ๑ 3
ภกภค๖๕๙ : ปฏิบัติการเครื่องมือวิเคราะห์ 3
ภกภอ๖๔๒ : เภสัชอุตสาหกรรมขั้นสูง ๑ 3
ภกอค๖๐๗ : การศึกษาฤทธิ์ทางชีววิทยา เภสัชวิทยา ระบาดวิทยา และทางคลินิก 2
   Major in AI-based Medical Diagnosis
   Students with computer science background
ทสคพ๕๑๙ : ปัญญาประดิษฐ์ทางด้านสุขภาพ 3
รมขส๖๔๓ : การสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิกและปัญญาประดิษฐ์ด้านการดูแลสุขภาพ 2
สศชส๖๖๙ : บันทึกข้อมูลการแพทย์และมาตรฐาน 2
   Students with medical background
ทสคพ๕๑๙ : ปัญญาประดิษฐ์ทางด้านสุขภาพ 3
ทสคพ๕๒๓ : ส่วนสำคัญของวิทยาการข้อมูล 3
สศชส๖๕๘ : ระบบฐานข้อมูลสุขภาพ 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
ทนคร๕๐๐ : ENTREPRENEURIAL THINKING WITH LEADERSHIP INSPIRATION 2
ทนคร๕๐๑ : TECHNOLOGY VENTURE 2
ทนคร๕๐๒ : ENTREPRENEURIAL OPPORTUNITIES FOR GLOBAL CHALLENGES 2
ทนคร๕๐๓ : INCUBATION PROJECT 2
บฑคร๕๕๐ : GLOBAL TRENDS AND REGULATORY FRAMEWORKS IN BIOMEDICAL TECHNOLOGY 2
   Major in Drug discovery & development
   Minor: Product Development
ภกภก๖๐๑ : ชีวเภสัชศาสตร์ขั้นสูง 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   Major in Medical devices
ทนคร๖๑๖ : ความเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ 2
ภกกภ๕๐๐ : การกำกับดูแลยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3
ภกกภ๕๐๔ : แนวปฏิบัติสากลด้านการควบคุมยา 3
ภกกภ๕๐๕ : หลักการจัดการความเสี่ยงและระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2
ภกกภ๕๑๒ : ทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2
ภกกภ๕๑๕ : การกำกับดูแลเครื่องมือแพทย์ 2
วศชพ๖๑๖ : วิธีการหาค่าเหมาะที่สุด 3
วศอก๕๗๒ : การวางแผนและควบคุมการผลิต 3
วศอก๕๙๑ : การผลิตเพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขัน 3
สววส๕๕๔ : กลยุทธ์ในการพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์ใหม่ 2
   Major in Drug discovery & development
   Minor: Product Development
ภกภก๖๑๙ : เภสัชจลนศาสตร์ขั้นสูง 2
ภกภก๖๖๑ : เภสัชการขั้นสูง ๒ 3
ภกภก๖๖๒ : วิทยาศาสตร์เวชสำอาง 2
ภกภค๖๕๑ : เสถียรภาพของเภสัชภัณฑ์ 3
ภกภฉ๖๔๙ : การพัฒนาสมุนไพร ๑ 3
ภกภอ๖๔๐ : การบริหารโรงงาน 2
ภกภอ๖๔๓ : เภสัชอุตสาหกรรมขั้นสูง ๒ 3
ภกภอ๖๔๔ : หน่วยการผลิตทางเภสัชกรรม 2
ภกภอ๖๔๕ : เทคโนโลยีการวิเคราะห์กระบวนการผลิต 2
ภกภอ๖๔๖ : การพัฒนาเภสัชผลิตภัณฑ์ ๒ 3
ภกภอ๖๔๗ : การผลิตผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 3
ภกวพ๖๗๐ : การผลิตและพัฒนาตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3
ภกวพ๖๙๑ : เทคโนโลยีการผลิตพฤกษเภสัชภัณฑ์ 3
ภกวพ๖๙๓ : สารจากสมุนไพรในเครื่องสำอาง 3
ภกอค๖๐๑ : ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ๑ 3
ภกอค๖๐๒ : อาหารเพื่อสุขภาพ ๑ 3
ภกอค๖๐๕ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและอาหารฟังก์ชั่น 2
ภกอค๖๑๑ : กรรมวิธีการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารฟังก์ชั่น 2
ภกอค๖๑๒ : บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและอาหารฟังก์ชั่น 2
วทภส๕๐๑ : ระเบียบวิธีการทดลองทางเภสัชวิทยา 1
วทภส๕๐๒ : หลักการออกฤทธิ์ของยา 2
วทภส๕๐๓ : การค้นพบยาใหม่ 1
วทภส๕๐๔ : แนวคิดทางพยาธิสรีรวิทยาของการรักษาด้วยยา 2
วทภส๕๐๕ : หลักการออกแบบและค้นพบยาโดยใช้คอมพิวเตอร์ 1
วทภส๕๐๖ : เครื่องสำอางและโภชนเภสัชภัณฑ์ 2
วทภส๕๐๗ : เภสัชวิทยาทันสมัย 3
วทภส๕๐๘ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางเภสัชวิทยา 2
วทภส๕๑๑ : วิทยาการระดับโมเลกุลและเซลล์ทางเภสัชวิทยา 1
วทภส๕๒๑ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๑ 2
วทภส๕๒๒ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๒ 2
วทภส๕๒๓ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๓ 2
วทภส๖๑๑ : เภสัชวิทยาขั้นสูง 3
ศรภส๕๐๘ : หลักการทางเภสัชวิทยาเชิงระบบ 3
ศรภส๕๐๙ : เทคนิคการคำนวณทางเภสัชวิทยาเชิงระบบ 3
ศรภส๕๑๒ : สัมมนาเภสัชวิทยาและการพัฒนายาใหม่ 2
ศรภส๕๑๓ : วิธีวิทยาการวิจัยทางเภสัชวิทยาและการพัฒนายาใหม่ 4
ศรภส๕๑๔ : องค์ความรู้พื้นฐานด้านเภสัชวิทยาทางการแพทย์ 3
ศรภส๕๑๕ : เภสัชวิทยาทางการแพทย์และการบำบัดด้วยยา 3
ศรภส๕๑๖ : หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาเชิงระบบ 3
ศรภส๕๑๗ : เทคนิคการคำนวณขั้นสูงทางเภสัชวิทยาเชิงระบบ 3
ศรภส๕๑๘ : การวิจัยขั้นแนวหน้าทางเภสัชวิทยาการแพทย์ 2
ศรภส๕๑๙ : การวิจัยขั้นแนวหน้าทางเภสัชระบาดวิทยา 2
ศรภส๕๒๐ : การวิจัยขั้นแนวหน้าทางเภสัชวิทยาเชิงระบบ 2
ศรภส๕๒๑ : การวิจัยขั้นแนวหน้าทางการสร้างโมเดลเชิงสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการออกแบบและค้นคว้าทางยา 2
ศรภส๖๐๒ : การวิจัยขั้นแนวหน้าทางเภสัชวิทยาและการพัฒนายาใหม่ 3
   Minor: Product Quality Control
ภกจช๖๖๕ : การประเมินคุณภาพและการควบคุมทางจุลชีววิทยา 3
ภกภค๖๓๙ : การวิเคราะห์ทางเภสัชขั้นสูง ๑ 3
ภกภค๖๔๐ : การวิเคราะห์ทางเภสัชขั้นสูง ๒ 3
ภกภค๖๕๙ : ปฏิบัติการเครื่องมือวิเคราะห์ 3
ภกวพ๖๗๒ : แนวทางการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3
ภกวพ๖๙๐ : การวิเคราะห์ทางพฤกษเภสัช 3
ภกอค๖๑๐ : การประกันคุณภาพในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และอาหารฟังก์ชั่น 2
ภกอค๖๑๔ : จุลชีววิทยาของอาหาร ความปลอดภัยของอาหาร และการควบคุมคุณภาพอาหาร 2
   Minor: Product Registration
ภกกภ๕๐๑ : ทักษะการจัดการและปฏิบัติงานด้านกฎหมายและการขึ้นทะเบียน 3
ภกกภ๕๐๒ : ระบบจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพ 3
ภกกภ๕๐๓ : สถิติในวิทยาการกำกับดูแลเภสัชภัณฑ์ 3
ภกกภ๕๐๔ : แนวปฏิบัติสากลด้านการควบคุมยา 3
ภกกภ๕๐๕ : หลักการจัดการความเสี่ยงและระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2
ภกกภ๕๐๘ : กระบวนการค้นพบยาและพัฒนาเภสัชภัณฑ์ 3
ภกกภ๕๑๐ : เครื่องมือจัดการความเสี่ยงสำหรับอุตสาหกรรมยา 2
ภกกภ๕๑๑ : รูปแบบและการจัดการการทดลองทางคลินิก 2
ภกกภ๕๑๒ : ทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2
ภกกภ๕๑๓ : ผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงพาณิชย์ 2
ภกกภ๕๑๔ : การกำกับดูแลอาหารและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร 2
ภกอค๖๐๗ : การศึกษาฤทธิ์ทางชีววิทยา เภสัชวิทยา ระบาดวิทยา และทางคลินิก 2
ภกอค๖๑๕ : หลักการตลาดของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและอาหารฟังก์ชั่น 2
   Major in Biologics & Vaccines
ชมชม๖๒๔ : เวกเตอร์ไวรัสที่เกี่ยวข้องกับไวรัสอะดีโน 1
ชมชม๖๒๕ : สารต้านแบคทีเรียและแบคเทอริโอเฟจ 2
ชมชม๖๒๖ : แบคทีเรียวิทยา 2
ชมชม๖๒๘ : พื้นฐานและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไบโอเซนเซอร์ 2
ชมชม๖๒๙ : ชีววิทยามะเร็งและการแพทย์แม่นยำ 2
ชมชม๖๓๐ : การถ่ายภาพระดับเซลล์และโมเลกุล 1
ชมชม๖๓๑ : การตัดต่อจีโนมด้วยคริสเปอร์/คาสไนน์ 1
ชมชม๖๓๙ : การสร้างและการตรวจสอบคุณสมบัติเซลล์ต้นกำเนิดชนิดเหนี่ยวนำ 1
ชมชม๖๔๑ : เวกเตอร์ไวรัสเลนติ 1
ชมชม๖๔๒ : การพัฒนาวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 1
ชมชม๖๔๔ : การก่อกลายพันธุ์ยีนด้วยเทคนิคพีซีอาร์เพื่อการวิศวกรรมโปรตีน 1
ชมชม๖๔๕ : เทคนิคไพรม์อีดิติง 1
ชมชม๖๕๒ : การออกแบบวัคซีน 1
ชมชม๖๕๓ : เทคโนโลยีและการพัฒนาวัคซีน 1
ชมชม๖๕๔ : เทคนิคทางไวรัสวิทยา 2
ชมชม๖๕๕ : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างไวรัสกับเซลล์ 2
   Major in Medical Robotics
วศชพ๕๕๓ : อุปกรณ์รับรู้ชีวภาพอัจฉริยะที่สวมใส่ได้ 3
วศชพ๕๕๔ : ระบบอัตโนมัติด้านการดูแลสุขภาพและวิทยาการหุ่นยนต์ 3
วศชพ๕๕๖ : ระบบไซเบอร์กายภาพชีวการแพทย์ 3
วศชพ๕๕๘ : เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการเสริมสร้างการเคลื่อนไหวของมนุษย์และการฟื้นฟูสมรรถภาพ 3
วศชพ๖๑๐ : เครือข่ายระบบประสาท 3
วศชพ๖๑๔ : การเรียนรู้เชิงลึกสำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3
วศชพ๖๒๔ : การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับสมอง 3
วศชพ๖๒๗ : การเรียนรู้ของเครื่องและวิทยาศาสตร์ข้อมูลสำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3
วศชพ๖๔๒ : ชีวกลศาสตร์ขั้นสูง 3
วศชพ๖๔๕ : กายอุปกรณ์ทางชีวการแพทย์ 3
วศชพ๖๔๖ : การออกแบบและการผลิตอุปกรณ์ชีวการแพทย์ 3
วศชพ๖๔๙ : การทดสอบและการรับรองวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ขั้นสูง 3
วศชพ๖๕๓ : ระบบอัจฉริยะ 3
วศชพ๖๖๐ : ศัลยศาสตร์บูรณาการคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3
วศชพ๖๖๒ : การออกแบบและการควบคุมของการเชื่อมต่อแฮพติก 3
วศชพ๖๘๐ : หุ่นยนต์ทางการแพทย์ขั้นสูง 3
วศชพ๖๘๑ : ระบบเครื่องกลไฟฟ้าจุลภาคทางชีวภาพและอุปกรณ์จุลภาคทางการแพทย์ 3
วศชพ๖๘๓ : หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3

อาจารย์ประจำหลักสูตร