เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันศุกร์ที่   3   พฤษภาคม   พ.ศ. 2567

ผู้สนใจเข้าศึกษา


ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาเซียนศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (หลักสูตรนานาชาติ) (ภาคพิเศษ)

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน โครงการร่วมบัณฑิตวิทยาลัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม โครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา และสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
เว็บไซต์ www.grad.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(อาเซียนศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน)

จุดเด่นของหลักสูตร

In celebration of Thailand's Presidency of ASEAN in 2019, Mahidol University launches a new international interdisciplinary M.A. program on ASEAN Studies for Sustainable Development (MASD). Drawing on Mahidol University's strength in social sciences as well as its collaboration with regional and international experts in public and private sectors, MASD offers international and multicultural learning environment for practitioners, new graduates, and general public who wish to understand and catch up with the current dynamism of ASEAN+6, or to work and live in this growing region

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

Plan 1.2 Academic (courses work and research) applicant must 
1) Hold a Bachelor degree or equivalent in all disciplines from an accredited higher education institution 
2) Having a cumulative GPA not less than 2.50 
3) Other requirements shall follow those specified by the Faculty of Graduate Studies
4) Qualifications different from (2-3) may be considered by the Program
Committee and the Dean of Faculty of Graduate Studies.

Plan 2 Profession applicant must
1) Holding a Bachelor degree or equivalent in all disciplines from a   accredited higher education institution 
2) Having a cumulative GPA not less than 2.50 
3) Have working experience in the related field at least three years
4) Other requirements shall follow those specified by the Faculty of
Graduate Studies
5) Qualifications different from (2-4) may be considered by the Program
Committee and the Dean of Faculty of Graduate Studies.

โครงสร้างหลักสูตร

แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์)
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน 2 แบบวิชาชีพ
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
การค้นคว้าอิสระ 6            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. ASEAN experts in government agencies, private sector, international organizations and regional organizations
2. Academician and researchers for ASEAN Studies for Sustainable Development
3. Policy Analyst in government, non-governmental or private sector organizations related to sustainable development 
4. Development consultant and community development officer

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
บฑอศ๕๖๐ : ภูมิภาคานุวัติและภูมิภาคนิยมในอาเซียนมุมมองด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง และการเมือง 3
บฑอศ๕๖๕ : การสร้างความยั่งยืนในอาเซียนผ่านประเด็นจัดการสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนและระบบการจัดการภัยพิบัติระดับภูมิภาค 2
บฑอศ๕๘๒ : การพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน 3
บฑอศ๕๘๓ : สัมมนาประเด็นร่วมสมัยในอาเซียน 2
บฑอศ๕๘๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3
บฑอศ๕๘๙ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน 2
บฑอศ๕๙๐ : การบริหารและจัดการ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
บฑคร๕๑๖ : การเขียนวิทยานิพนธ์สำหรับบัณฑิตศึกษา 3
บฑคร๕๗๓ : การสร้างความเป็นธุรกิจ ความเสี่ยง กฎหมายและปัจจัยสำคัญทางธุรกิจสำหรับความสัมพันธ์ทางธุรกิจข้ามพรมแดนในอาเซียน 2
บฑอศ๕๖๒ : การปรับกระบวนทัศน์ทางประชาสังคม การพิทักษ์ประโยชน์และสิทธิมนุษยชนในอาเซียน 2
บฑอศ๕๖๓ : เพศสภาวะ ความรุนแรง และความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมในอาเซียน 2
บฑอศ๕๖๘ : ประเด็นปัญหาประชากร การเคลื่อนย้ายถิ่น การค้ามนุษย์ และอาชญากรรมข้ามชาติในอาเซียน 2
บฑอศ๕๗๑ : การศึกษาสำหรับปวงชน แนวทางของอาเซียนกับการส่งเสริมความยั่งยืน ทางการศึกษา 2
บฑอศ๕๗๙ : การพัฒนาระบบสุขภาพในอาเซียนสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน 2
บฑอศ๕๘๐ : สันติภาพ การแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง และความมั่นคงในอาเซียน 2
บฑอศ๕๘๖ : วิจัยเชิงคุณภาพและระเบียบวิธีแบบผสมผสาน 2
บฑอศ๕๘๗ : ดนตรีและวัฒนธรรมในอาเซียน 2
บฑอศ๕๘๘ : การศึกษาเปรียบเทียบในบริบทสากล 2
บฑอศ๕๙๑ : สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนในอาเซียน: ความท้าทายและแนวทางการแก้ไข 2

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
บฑอศ๕๖๐ : ภูมิภาคานุวัติและภูมิภาคนิยมในอาเซียนมุมมองด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง และการเมือง 3
บฑอศ๕๖๕ : การสร้างความยั่งยืนในอาเซียนผ่านประเด็นจัดการสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนและระบบการจัดการภัยพิบัติระดับภูมิภาค 2
บฑอศ๕๘๒ : การพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน 3
บฑอศ๕๘๓ : สัมมนาประเด็นร่วมสมัยในอาเซียน 2
บฑอศ๕๘๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3
บฑอศ๕๘๙ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน 2
บฑอศ๕๙๐ : การบริหารและจัดการ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
บฑคร๕๑๖ : การเขียนวิทยานิพนธ์สำหรับบัณฑิตศึกษา 3
บฑคร๕๗๓ : การสร้างความเป็นธุรกิจ ความเสี่ยง กฎหมายและปัจจัยสำคัญทางธุรกิจสำหรับความสัมพันธ์ทางธุรกิจข้ามพรมแดนในอาเซียน 2
บฑอศ๕๖๒ : การปรับกระบวนทัศน์ทางประชาสังคม การพิทักษ์ประโยชน์และสิทธิมนุษยชนในอาเซียน 2
บฑอศ๕๖๓ : เพศสภาวะ ความรุนแรง และความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมในอาเซียน 2
บฑอศ๕๖๘ : ประเด็นปัญหาประชากร การเคลื่อนย้ายถิ่น การค้ามนุษย์ และอาชญากรรมข้ามชาติในอาเซียน 2
บฑอศ๕๗๑ : การศึกษาสำหรับปวงชน แนวทางของอาเซียนกับการส่งเสริมความยั่งยืน ทางการศึกษา 2
บฑอศ๕๗๙ : การพัฒนาระบบสุขภาพในอาเซียนสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน 2
บฑอศ๕๘๐ : สันติภาพ การแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง และความมั่นคงในอาเซียน 2
บฑอศ๕๘๖ : วิจัยเชิงคุณภาพและระเบียบวิธีแบบผสมผสาน 2
บฑอศ๕๘๗ : ดนตรีและวัฒนธรรมในอาเซียน 2
บฑอศ๕๘๘ : การศึกษาเปรียบเทียบในบริบทสากล 2
บฑอศ๕๙๑ : สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนในอาเซียน: ความท้าทายและแนวทางการแก้ไข 2

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. อาจารย์ Aung Win Tun   (ประธานหลักสูตร)
  2. รองศาสตราจารย์ อรพินท์ เล่าซี้
  3. รองศาสตราจารย์ ปิยะพงษ์ จันทร์ใหม่มูล
  4. รองศาสตราจารย์ โสภนา ศรีจำปา
  5. รองศาสตราจารย์ สุรีย์พร พันพึ่ง
  6. รองศาสตราจารย์ ธันวดี สุขสาโรจน์
  7. รองศาสตราจารย์ วรรณพร เตชะไกศิยวณิช
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุรัสกร โตรัตน์
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สักกรินทร์ นิยมศิลป์
  10. รองศาสตราจารย์ ศริยามน ติรพัฒน์
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศศิวิมล แสวงผล
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมชัย ตระการรุ่ง
  13. อาจารย์ อิศวรา ศิริรุ่งเรือง
  14. อาจารย์ สุภาสเมต ยุนยะสิทธิ์
  15. รองศาสตราจารย์ เฉลิมพล แจ่มจันทร์
  16. รองศาสตราจารย์ จรัมพร โห้ลำยอง
  17. รองศาสตราจารย์ ชีระวิทย์ รัตนพันธ์
  18. รองศาสตราจารย์ ณัฐณีย์ มีมนต์