ผู้สนใจเข้าศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการทางเทคนิคการแพทย์ (ภาคพิเศษ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะเทคนิคการแพทย์ |
เว็บไซต์ |
https://mt.mahidol.ac.th/ |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(เทคโนโลยีและการจัดการทางเทคนิคการแพทย์)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แผน ก แบบ ก๒ (เรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) (๑) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดังกล่าว จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล แผน ข (เรียนรายวิชาและทำสารนิพนธ์) (๑) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดังกล่าวจากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (๔) มีประสบการณ์การทำงานในสายวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ เวชศาสตร์ชันสูตร และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๕) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ข | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 15 | หน่วยกิต | |
สารนิพนธ์ | 6 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
ผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการทางเทคนิคการแพทย์ เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว สามารถประกอบอาชีพต่าง ๆ ในองค์กรภาครัฐ และเอกชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจำแนกลักษณะของงานที่ปฏิบัติได้ดังนี้
- ผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคการแพทย์หรือเฉพาะด้านทางเทคนิคการแพทย์
- นักวิทยาศาสตร์การแพทย์
- นักวิจัย ในองค์กรภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม รวมถึงองค์กรภาครัฐ และเอกชน
- ผู้ประกอบการอิสระในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับงานเทคนิคการแพทย์ และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีอื่นๆ
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
ทนคร๕๒๑ : ความก้าวหน้าทางเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๒๒ : ระบบการจัดการคุณภาพและการบริหารห้องปฏิบัติการ | 2 | ||
ทนคร๕๒๓ : การทวนสอบผลและความสัมพันธ์ทางคลินิก | 1 | ||
ทนคร๕๒๔ : สถิติสำหรับห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ | 1 | ||
ทนคร๕๒๕ : วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูลทางเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๒๖ : การบริหารจัดการธุรกิจสุขภาพ | 2 | ||
ทนคร๕๒๗ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
ทนคร๕๒๘ : การวิเคราะห์ระบบและการวางแผนทางเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๒๙ : สัมมนาทางเทคนิคการแพทย์ | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ทนคค๕๐๑ : เคมีคลินิกขั้นสูง | 2 | ||
ทนคค๕๐๒ : การบริหารคุณภาพโดยรวมทางเคมีคลินิก | 2 | ||
ทนคค๕๐๓ : การประเมินผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคทางคลินิก | 1 | ||
ทนคค๕๐๔ : หัวข้อเลือกสรรทางเคมีคลินิก | 1 | ||
ทนคม๕๐๑ : หัวข้อเลือกสรรทางโลหิตวิทยาและจุลทรรศนศาสตร์คลินิก | 2 | ||
ทนคม๕๐๓ : การประกันคุณภาพทางโลหิตวิทยาและจุลทรรศนศาสตร์คลินิก | 2 | ||
ทนคม๕๐๔ : หัวข้อเลือกสรรทางวิทยาศาสตร์การบริการโลหิต | 2 | ||
ทนคร๕๓๐ : การฝึกปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๓๑ : แนวโน้มทางเทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยในอนาคต | 1 | ||
ทนคร๕๓๒ : ชีวสถิติและระบาดวิทยา | 1 | ||
ทนคร๕๓๓ : การแพทย์แม่นยำและการประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ทนคร๕๓๔ : หัวข้อเลือกสรรทางการทดสอบในระดับโมเลกุล | 2 | ||
ทนคร๕๓๕ : การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ณ จุดดูแลผู้ป่วย | 2 | ||
ทนคร๕๓๖ : ความปลอดภัยทางชีวภาพ และชีวนิรภัย | 1 | ||
ทนคร๕๓๗ : เทคโนโลยีการวิจัย และการจัดการนวัตกรรม | 2 | ||
ทนคร๕๓๘ : ชีวสารสนเทศ | 2 | ||
ทนคร๕๓๙ : โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๔๐ : โปรแกรมทางสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ | 2 | ||
ทนคร๕๔๑ : เหมืองข้อมูล | 2 | ||
ทนคร๕๔๒ : การประเมินความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ | 2 | ||
ทนคร๕๔๓ : เทคโนโลยีการจัดการทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ | 1 | ||
ทนคร๕๔๔ : มาตรฐานห้องปฏิบัติการและการขอการรับรอง | 1 | ||
ทนคร๕๔๕ : หลักการการเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ | 1 | ||
ทนจค๕๐๑ : หัวข้อเลือกสรรทางจุลชีววิทยาคลินิก | 2 | ||
ทนจค๕๐๒ : หัวข้อเลือกสรรทางภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก | 2 | ||
ทนจค๕๐๓ : หัวข้อเลือกสรรทางไวรัสวิทยาคลินิก | 2 | ||
ทนจค๕๐๔ : หัวข้อเลือกสรรทางเชื้อราวิทยา | 2 | ||
ทนจค๕๐๕ : โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ | 2 | ||
ทนจค๕๐๖ : ยาต้านจุลชีพและการดื้อยาต้านจุลชีพขั้นสูง | 2 | ||
ทนจค๕๐๗ : การบริหารคุณภาพโดยรวมทางจุลชีววิทยาคลินิก | 2 | ||
ทนทช๕๐๑ : การวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพชุมชน | 2 | ||
ทนทช๕๐๒ : ปฏิบัติการวิเคราะห์และประเมินสุขภาวะชุมชน | 2 | ||
ทนทช๕๐๓ : บทบาทของเทคนิคการแพทย์ในสังคมดิจิตอล | 2 | ||
ทนทช๕๐๔ : การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ | 2 | ||
ทนทช๕๐๕ : การให้คำปรึกษาทางสุขภาพอย่างนักเทคนิคการแพทย์มืออาชีพ | 2 | ||
ทนทช๕๐๖ : บทบาทของนักเทคนิคการแพทย์ต่อสังคม | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ทนคร๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
แผน ข
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
ทนคร๕๒๑ : ความก้าวหน้าทางเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๒๒ : ระบบการจัดการคุณภาพและการบริหารห้องปฏิบัติการ | 2 | ||
ทนคร๕๒๓ : การทวนสอบผลและความสัมพันธ์ทางคลินิก | 1 | ||
ทนคร๕๒๔ : สถิติสำหรับห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ | 1 | ||
ทนคร๕๒๕ : วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูลทางเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๒๖ : การบริหารจัดการธุรกิจสุขภาพ | 2 | ||
ทนคร๕๒๗ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
ทนคร๕๒๘ : การวิเคราะห์ระบบและการวางแผนทางเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๒๙ : สัมมนาทางเทคนิคการแพทย์ | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ทนคค๕๐๑ : เคมีคลินิกขั้นสูง | 2 | ||
ทนคค๕๐๒ : การบริหารคุณภาพโดยรวมทางเคมีคลินิก | 2 | ||
ทนคค๕๐๓ : การประเมินผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคทางคลินิก | 1 | ||
ทนคค๕๐๔ : หัวข้อเลือกสรรทางเคมีคลินิก | 1 | ||
ทนคม๕๐๑ : หัวข้อเลือกสรรทางโลหิตวิทยาและจุลทรรศนศาสตร์คลินิก | 2 | ||
ทนคม๕๐๓ : การประกันคุณภาพทางโลหิตวิทยาและจุลทรรศนศาสตร์คลินิก | 2 | ||
ทนคม๕๐๔ : หัวข้อเลือกสรรทางวิทยาศาสตร์การบริการโลหิต | 2 | ||
ทนคร๕๓๐ : การฝึกปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๓๑ : แนวโน้มทางเทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยในอนาคต | 1 | ||
ทนคร๕๓๒ : ชีวสถิติและระบาดวิทยา | 1 | ||
ทนคร๕๓๓ : การแพทย์แม่นยำและการประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ | 2 | ||
ทนคร๕๓๔ : หัวข้อเลือกสรรทางการทดสอบในระดับโมเลกุล | 2 | ||
ทนคร๕๓๕ : การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ณ จุดดูแลผู้ป่วย | 2 | ||
ทนคร๕๓๖ : ความปลอดภัยทางชีวภาพ และชีวนิรภัย | 1 | ||
ทนคร๕๓๗ : เทคโนโลยีการวิจัย และการจัดการนวัตกรรม | 2 | ||
ทนคร๕๓๘ : ชีวสารสนเทศ | 2 | ||
ทนคร๕๓๙ : โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๕๔๐ : โปรแกรมทางสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ | 2 | ||
ทนคร๕๔๑ : เหมืองข้อมูล | 2 | ||
ทนคร๕๔๒ : การประเมินความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ | 2 | ||
ทนคร๕๔๓ : เทคโนโลยีการจัดการทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ | 1 | ||
ทนคร๕๔๔ : มาตรฐานห้องปฏิบัติการและการขอการรับรอง | 1 | ||
ทนคร๕๔๕ : หลักการการเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ | 1 | ||
ทนจค๕๐๑ : หัวข้อเลือกสรรทางจุลชีววิทยาคลินิก | 2 | ||
ทนจค๕๐๒ : หัวข้อเลือกสรรทางภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก | 2 | ||
ทนจค๕๐๓ : หัวข้อเลือกสรรทางไวรัสวิทยาคลินิก | 2 | ||
ทนจค๕๐๔ : หัวข้อเลือกสรรทางเชื้อราวิทยา | 2 | ||
ทนจค๕๐๕ : โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ | 2 | ||
ทนจค๕๐๖ : ยาต้านจุลชีพและการดื้อยาต้านจุลชีพขั้นสูง | 2 | ||
ทนจค๕๐๗ : การบริหารคุณภาพโดยรวมทางจุลชีววิทยาคลินิก | 2 | ||
ทนทช๕๐๑ : การวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพชุมชน | 2 | ||
ทนทช๕๐๒ : ปฏิบัติการวิเคราะห์และประเมินสุขภาวะชุมชน | 2 | ||
ทนทช๕๐๓ : บทบาทของเทคนิคการแพทย์ในสังคมดิจิตอล | 2 | ||
ทนทช๕๐๔ : การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ | 2 | ||
ทนทช๕๐๕ : การให้คำปรึกษาทางสุขภาพอย่างนักเทคนิคการแพทย์มืออาชีพ | 2 | ||
ทนทช๕๐๖ : บทบาทของนักเทคนิคการแพทย์ต่อสังคม | 2 | ||
สารนิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ทนคร๖๙๗ : สารนิพนธ์ | 6 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- อาจารย์ มยุรี ชนะสกุลนิยม (ประธานหลักสูตร)
- รองศาสตราจารย์ ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย
- รองศาสตราจารย์ รัตนา ลาวัง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนกวรรณ กิตตินิยม
- ศาสตราจารย์ ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิชนันท์ แย้มกมล
- รองศาสตราจารย์ วัชระ ชุ่มบัวตอง
- รองศาสตราจารย์ ธีรพล เปียฉ่ำ
- อาจารย์ ชุลีพร พนัสอัมพร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวลิต จตุพีรพัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
- อาจารย์ ณัฐฐ หอมดี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โชติรส พลับพลึง
- รองศาสตราจารย์ อังกูรา สุโภคเวช
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุมนา มัสอูดี
- รองศาสตราจารย์ ดลินา ตันหยง
- รองศาสตราจารย์ สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์
- รองศาสตราจารย์ อมรา อภิลักษณ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วราภรณ์ จันทร์อ่อน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สินีวัลยา วิชิต
- อาจารย์ ณัฐภัทร อนุวงศ์เจริญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธีระวุฒิ จันทร์มี
- อาจารย์ พจนารถ วานิจจะกูล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิชญาพร คำพรม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สิริรัตน์ ลูกอินทร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปวเรศ อ่อนทอง
- รองศาสตราจารย์ ศักดิ์ดา ใยน้อย
- รองศาสตราจารย์ กุลชาติ จังภัทรพงศา
- รองศาสตราจารย์ วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร
- รองศาสตราจารย์ พรลดา นุชน้อย
- รองศาสตราจารย์ พัชนี ชูทอง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธรรมรักษ์ สุขศรีชวลิต
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประสงค์ แคน้ำ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิดา ปรัชชญาสิทธิกุล
- รองศาสตราจารย์ วิลาสินี จึงประสบสุข
- อาจารย์ ปิยดา ณ นคร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คัคนานต์ สรุงบุญมี
- อาจารย์ ธารารัตน์ ขาวเขียว
- อาจารย์ ชลธิดา ยาระณะ
- อาจารย์ เลิศยศ ตรีรัตนไพบูลย์
- รองศาสตราจารย์ ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มลธิรา พรมกัณฑ์
- รองศาสตราจารย์ กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชาฎิณี ทิพกรณ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ลิขิต ปรียานนท์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อภิลักษณ์ วรชาติชีวัน
- อาจารย์ ประสิทธิ์ หมั่นดี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมชาย บุญเพ็งรักษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณภัทร สองทวี
- รองศาสตราจารย์ หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กุลธิดา กิติดี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดลพร ริยะป่า
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธิติกานต์ สิทธิเวช
- รองศาสตราจารย์ ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุมนา ดาเก็ง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิตรดา เพชรฟอง