เปิดให้ทดลองใช้งานเว็บไซต์หลัก (เวอร์ชั่นใหม่)Go

   วันพฤหัสบดีที่   1   พฤษภาคม   พ.ศ. 2568

ผู้สนใจเข้าศึกษา


พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ/สถาบัน คณะพยาบาลศาสตร์
เว็บไซต์ https://ns.mahidol.ac.th/mns_inter/

ชื่อปริญญา

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต

วิชาเอก

  • วิชาเอกการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
  • วิชาเอกการพยาบาลเด็ก
  • วิชาเอกการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
  • คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

    Plan 1.1 Academic (Research only) Applicant
    1)	Hold a bachelor's degree in nursing (or equivalent) from academic 
    institutes. For a Thai nursing education institute, it must be accredited by Thailand Nursing and Midwifery Council;  
    2)	Currently hold a license for registered nurse in their own country;
    3)	Have working experience in related to nursing profession prior to admission to the Program at least one year;
    4)	Have research experience endorsed by the head or supervisor of the research project, or have research publication at least one paper related to nursing profession; 
    5)	 Trained in a four-month nursing specialty program or equivalent approved  
     by Thailand Nursing and Midwifery Council or other organizations in their 
     own country or endorsed by the head or director of the institute;
    6)	Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of Graduate Studies;
    7)   Qualifications different from 5) and 6) may be considered by the Program 
          Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate 
          Studies.
    
    Plan 1.2 Academic (Course work and research) Applicant
    1)	Hold a bachelor's degree in nursing (or equivalent) from academic 
    institutes. For a Thai nursing education institute, it must be accredited by Thailand Nursing and Midwifery Council; 
    2)	Currently hold a license for registered nurse in their own country;
    3)	Have working experience in related to nursing profession prior to admission to the Program at least one year;
    4)	Other requirements shall follow those that specified by the Faculty of 
    Graduate Studies;
    5) Qualifications different from 4)may be considered by the Program Administrative Committee and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.

    โครงสร้างหลักสูตร

    แผน 1.1 แบบวิชาการ (ทำวิทยานิพนธ์อย่างเดียว)
    วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
    รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
    แผน 1.2 แบบวิชาการ (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์)
    หมวดวิชาแกน 8            หน่วยกิต
    หมวดวิชาบังคับ 13            หน่วยกิต
    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
    วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
    รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

    อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

    1.	Clinical nurse specialized in adult and gerontological, pediatric, psychiatric and mental health nursing
    2.	Nursing instructors/ Nurse educators
    3.	Nurse researchers 
    4.	Nurse administers/Nurse managers
    5.	Self-employed in health services

    รายวิชาในหลักสูตร

    แผน ก แบบ ก1

    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
    พยคร๗๙๘ : วิทยานิพนธ์ 36

    แผน ก แบบ ก2

    หมวดวิชาแกน หน่วยกิต
    พยคร๖๑๔ : สถิติประยุกต์และวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ 3
    พยคร๖๒๒ : การประยุกต์ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล 2
    พยคร๖๔๐ : ภาวะผู้นำในระบบสุขภาพ 2
    พยคร๖๔๖ : การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาล 1
    หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
       วิชาเอกการพยาบาลเด็ก
    พยกม๖๒๓ : การพยาบาลเด็กขั้นสูง 3
    พยกม๖๒๔ : ปฏิบัติการประเมินสุขภาพเด็กขั้นสูง 2
    พยกม๖๒๕ : ปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง 4
    พยกม๖๒๖ : พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาเด็กและวัยุร่น 2
    พยกม๖๒๗ : นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ทางการพยาบาลเด็ก 1
    พยกม๖๓๑ : สัมมนาทางการพยาบาลเด็ก 1
       วิชาเอกการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
    พยญส๖๐๙ : บูรณาการการดูแลสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพซับซ้อน 3
    พยญส๖๑๐ : ปฏิบัติการประเมินสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 2
    พยญส๖๑๓ : ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพซับซ้อน 4
    พยญส๖๑๔ : พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2
    พยญส๖๑๕ : นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ทางการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1
    พยญส๖๑๘ : สัมมนาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1
       วิชาเอกการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
    พยสจ๖๓๙ : ปฏิบัติการประเมินสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 2
    พยสจ๖๔๑ : พื้นฐานทางประสาทชีววิทยาของพฤติกรรมและจิตเภสัชวิทยา 2
    พยสจ๖๔๕ : นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ทางการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 1
    พยสจ๖๔๖ : การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตสำหรับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตซับซ้อน 3
    พยสจ๖๔๗ : ปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตสำหรับผู้มีปัญหาสุขภาพจิตที่ซับซ้อน 4
    พยสจ๖๔๙ : สัมมนาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 1
    หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
    พยคร๖๐๐ : การให้การปรึกษาด้านสุขภาพ 2
    พยคร๖๔๑ : ความกลมกลืนในความหลากหลายของวัฒนธรรมและสุขภาพประชาคมโลก 2
    พยคร๖๔๒ : ประเด็นคัดสรรทางการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 1
    พยคร๖๔๓ : เทคโนโลยีดิจิทัลทางการพยาบาล 1
    พยคร๖๔๔ : การสอนทางคลินิกทางการพยาบาล 2
    วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
    พยคร๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

    อาจารย์ประจำหลักสูตร

    1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภาภัค เภตราสุวรรณ   (ประธานหลักสูตร)
    2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐิติพงษ์ ตันคำปวน
    3. รองศาสตราจารย์ วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์
    4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาตยา รัตนอัมภา
    5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เกศศิริ วงษ์คงคำ
    6. รองศาสตราจารย์ อัจฉริยา พ่วงแก้ว
    7. รองศาสตราจารย์ ทัศนี ประสบกิตติคุณ
    8. รองศาสตราจารย์ วารีรัตน์ ถาน้อย
    9. รองศาสตราจารย์ นพพร ว่องสิริมาศ
    10. รองศาสตราจารย์ อาภาวรรณ หนูคง
    11. รองศาสตราจารย์ วไลลักษณ์ พุ่มพวง
    12. รองศาสตราจารย์ ศรินรัตน์ ศรีประสงค์
    13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิรดา เกษรศรี
    14. รองศาสตราจารย์ ศศิธารา น่วมภา
    15. รองศาสตราจารย์ อรวมน ศรียุกตศุทธ
    16. ศาสตราจารย์ อุษาวดี อัศดรวิเศษ
    17. อาจารย์ สืบสาน รักสกุลพิวัฒน์
    18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิจิตรา เล็กดำรงกุล
    19. รองศาสตราจารย์ อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง
    20. รองศาสตราจารย์ ปรางทิพย์ ฉายพุทธ
    21. อาจารย์ เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล
    22. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐมา ทองธีรธรรม
    23. รองศาสตราจารย์ อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์
    24. อาจารย์ สาธิมา สุระธรรม
    25. รองศาสตราจารย์ สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง
    26. รองศาสตราจารย์ สมสิริ รุ่งอมรรัตน์