ผู้สนใจเข้าศึกษา
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ/สถาบัน | คณะพยาบาลศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.ns.mahidol.ac.th/english/th/index.html |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
วิชาเอก
จุดเด่นของหลักสูตร
หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการพัฒนาพยาบาลวิชาชีพ
ให้มีความรู้ความสามารถในการบูรณาการ ประสบการณ์ทางคลินิก งานวิจัย และความรู้เชิงทฤษฎี รวมทั้ง
มุมมองของภาวะสุขภาพประชาคมโลก มาใช้ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศนั้นๆ
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
Plan A1 Applicant 1) Hold a bachelor's degree in nursing (or equivalent) from academic institutes accredited by the Office of the Higher Education Commission, Thailand; 2) Currently hold a country license for registered nurse; 3) Have a minimum cumulative GPA not less than 2.50 (on basis of 4.00 scale); 4) Have working experience at least one year in related to nursing profession prior to admission to the program; 5) Have research experience endorsed by head or supervisor of the research project, or have research publication at least one paper in related to nursing profession; 6) Have a minimum English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies; 7) Applicant who does not meet the required qualifications may be considered by the Program Director and the Dean of the Faculty of Graduate Studies. Plan A2 Applicant 1) Hold a bachelor's degree in nursing (or equivalent) from academic institutes accredited by the Office of the Higher Education Commission, Thailand; 2) Currently hold a country license for registered nurse; 3) Have a minimum cumulative GPA not less than 2.50 (on basis of 4.00 scale); 4) Have working experience at least one year in related to nursing profession prior to admission to the program; 5) Have a minimum English Proficiency Examination score as the requirement of Faculty of Graduate Studies; 6) Applicant who does not meet the required qualifications may be considered by the Program Director and the Dean of the Faculty of Graduate Studies.
โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก๑ | |||
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาแกน | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 12 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 3 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. Clinical nurse specialized in adult and gerontological, pediatric, psychiatric and mental health nursing 2. Nurse researcher or educator in academic institute 3. Self-employed regarding health services and related
รายวิชาในหลักสูตร
แผน ก แบบ ก1
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
พยคร๗๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
พยคร๖๑๐ : ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล | 2 | ||
พยคร๖๑๓ : สถิติและการวิจัยทางการพยาบาล | 3 | ||
พยคร๖๒๐ : การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ | 2 | ||
พยคร๖๔๐ : ภาวะผู้นำในระบบสุขภาพ | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกการพยาบาลเด็ก | |||
พยกม๖๐๒ : พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาในเด็ก | 3 | ||
พยกม๖๒๓ : การพยาบาลเด็กขั้นสูง | 3 | ||
พยกม๖๒๔ : ปฏิบัติการประเมินสุขภาพเด็กขั้นสูง | 2 | ||
พยกม๖๒๕ : ปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง | 4 | ||
วิชาเอกการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ | |||
พยญส๖๐๑ : พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาทางการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ | 3 | ||
พยญส๖๐๙ : บูรณาการการดูแลสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพซับซ้อน | 3 | ||
พยญส๖๑๐ : ปฏิบัติการประเมินสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง | 2 | ||
พยญส๖๑๑ : ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพซับซ้อน | 4 | ||
วิชาเอกการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต | |||
พยสจ๖๒๑ : พื้นฐานทางประสาทชีววิทยาของพฤติกรรมมนุษย์และจิตเภสัชวิทยา | 3 | ||
พยสจ๖๓๗ : การคัดกรองและการประเมินสุขภาพจิต | 1 | ||
พยสจ๖๓๘ : การส่งเสริมสุขภาพจิตและการฟื้นฟูทางจิตเวช | 2 | ||
พยสจ๖๓๙ : ปฏิบัติการประเมินสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง | 2 | ||
พยสจ๖๔๐ : ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิตและการฟื้นฟูทางจิตเวช | 4 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
พยคร๖๐๐ : การให้การปรึกษาด้านสุขภาพ | 3 | ||
พยคร๖๒๕ : การวัดและการจัดการผลลัพธ์ | 3 | ||
พยคร๖๒๙ : การสอนทางการพยาบาล | 3 | ||
พยคร๖๓๑ : การพัฒนาบทบาทของพยาบาลปฏิบัติการขั้นสูง | 3 | ||
พยคร๖๔๑ : ความกลมกลืนในความหลากหลายของวัฒนธรรมและสุขภาพประชาคมโลก | 2 | ||
พยคร๖๔๒ : ประเด็นคัดสรรทางการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ | 1 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
พยคร๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภาภัค เภตราสุวรรณ (ประธานหลักสูตร)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐิติพงษ์ ตันคำปวน
- รองศาสตราจารย์ วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์
- รองศาสตราจารย์ จงจิต เสน่หา
- รองศาสตราจารย์ วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์
- รองศาสตราจารย์ ยาใจ สิทธิมงคล
- รองศาสตราจารย์ วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เกศศิริ วงษ์คงคำ
- รองศาสตราจารย์ อัจฉริยา พ่วงแก้ว
- รองศาสตราจารย์ ทัศนี ประสบกิตติคุณ
- รองศาสตราจารย์ อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
- รองศาสตราจารย์ ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วารุณี พลิกบัว
- รองศาสตราจารย์ วารีรัตน์ ถาน้อย
- รองศาสตราจารย์ นพพร ว่องสิริมาศ
- รองศาสตราจารย์ อาภาวรรณ หนูคง
- รองศาสตราจารย์ วไลลักษณ์ พุ่มพวง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุดารัตน์ เพียรชอบ
- รองศาสตราจารย์ ศรินรัตน์ ศรีประสงค์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิรดา เกษรศรี
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัตติมา ศิริโหราชัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรัณยา โฆสิตะมงคล
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิมลนันท์ พุฒิวณิชพงศ์
- รองศาสตราจารย์ อรวมน ศรียุกตศุทธ
- รองศาสตราจารย์ เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์
- รองศาสตราจารย์ สุพร ดนัยดุษฎีกุล
- ศาสตราจารย์ อุษาวดี อัศดรวิเศษ
- รองศาสตราจารย์ วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิจิตรา เล็กดำรงกุล
- รองศาสตราจารย์ อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง
- รองศาสตราจารย์ วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช
- รองศาสตราจารย์ ปรางทิพย์ ฉายพุทธ
- รองศาสตราจารย์ อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์
- รองศาสตราจารย์ สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง
- รองศาสตราจารย์ สมสิริ รุ่งอมรรัตน์
- รองศาสตราจารย์ พวงเพชร เกษรสมุทร