ผู้สนใจเข้าศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการพฤกษเภสัชภัณฑ์ (หลักสูตรนานาชาติ)
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ/สถาบัน | คณะเภสัชศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th |
ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
รายวิชาในหลักสูตร
ข้อมูลเกี่ยวกับ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชื่อปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(วิทยาการพฤกษเภสัชภัณฑ์)
คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา
แบบ ๑ (๑) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโท เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต หรือวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ในสาขาที่เกี่ยวข้องหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้การรับรอง (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕o (๓) มีประสบการณ์ด้านวิจัยในสาขาวิชาวิทยาการพฤกษเภสัชภัณฑ์หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๓ ปี (๔) มีผลงานได้รับการตีพิมพ์ในวารสารที่มีนักวิชาการกลั่นกรองหรือเผยแพร่ในที่ประชุมวิชาการที่มี นักวิชาการกลั่นกรองและมีผลงานได้รับตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ โดยจะต้องเป็น ชื่อแรกอย่างน้อย ๑ เรื่อง ทั้งนี้ไม่ใช่ผลงานที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษาระดับมหาบัณฑิต (๕) มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กำหนด (๖) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวอาจได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้สมัครเข้าศึกษาตาม ดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย แบบ ๒ (๑) สำเร็จการศึกษา หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขา เภสัชศาสตร์ หรือสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดม ศึกษาให้การรับรองผลการเรียนในระดับดีมาก (๒) สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโท เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต หรือวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตในสาขา ที่เกี่ยวข้องหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕o (๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กำหนด (๔) ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวอาจได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้สมัครเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
แบบ ๑ | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒ | |||
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 3 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
ผู้สำเร็จการศึกษาจะมีความรู้และความสามารถในด้านพฤกษเภสัชภัณฑ์ โดยสามารถประกอบอาชีพ ด้านการผลิต วิจัยพัฒนาและควบคุมคุณภาพยาสมุนไพร เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ในภาครัฐ และเอกชน ดังต่อไปนี้
- นักวิจัย
- นักวิชาการ
- ผู้ประกอบการ
รายวิชาในหลักสูตร
แบบ 1
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท | |||
ภกวพ๖๗๓ : ปัญหาพิเศษทางพฤกษเภสัชภัณฑ์ | 2 | ||
ภกวพ๖๘๒ : สัมมนาปริญญาเอกการวิจัยวิทยาการพฤกษเภสัชภัณฑ์ | 1 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
ภกวพ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
แบบ 2
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท | |||
ภกวพ๖๘๒ : สัมมนาปริญญาเอกการวิจัยวิทยาการพฤกษเภสัชภัณฑ์ | 1 | ||
ภกวพ๖๘๘ : การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม | 2 | ||
ภกวพ๖๙๐ : การวิเคราะห์ทางพฤกษเภสัช | 3 | ||
ภกวพ๖๙๑ : เทคโนโลยีการผลิตพฤกษเภสัชภัณฑ์ | 3 | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี | |||
ภกคร๖๘๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยในเภสัชศาสตร์ ๑ | 2 | ||
ภกภฉ๖๕๑ : เภสัชพฤกษเคมี ๑ | 3 | ||
ภกภพ๖๐๕ : อนุกรมวิธานพืชสมุนไพร | 3 | ||
ภกวพ๖๘๑ : สัมมนาปริญญาเอกวิทยาการพฤกษเภสัชภัณฑ์ | 1 | ||
ภกวพ๖๘๒ : สัมมนาปริญญาเอกการวิจัยวิทยาการพฤกษเภสัชภัณฑ์ | 1 | ||
ภกวพ๖๘๘ : การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม | 2 | ||
ภกวพ๖๙๐ : การวิเคราะห์ทางพฤกษเภสัช | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
ภกภค๖๕๐ : ปฏิกิริยาเคมีในการวิเคราะห์เภสัชภัณฑ์ | 3 | ||
ภกภค๖๕๑ : เสถียรภาพของเภสัชภัณฑ์ | 3 | ||
ภกภฉ๖๕๖ : การหาสูตรโครงสร้าง | 3 | ||
ภกภพ๖๐๑ : การแพทย์แผนไทย | 3 | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท | |||
ภกภฉ๖๕๕ : เคมีของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ | 3 | ||
ภกภฉ๖๖๔ : นิวเคลียร์แมกเนติก เรโซแนนซ์ สเปคโตรสโคปี | 3 | ||
ภกภว๖๖๔ : สาระสำคัญทางพิษวิทยา | 3 | ||
ภกภว๖๖๖ : เทคนิคการคัดกรองยา ๑ | 3 | ||
ภกวพ๖๗๓ : ปัญหาพิเศษทางพฤกษเภสัชภัณฑ์ | 2 | ||
ภกวพ๖๘๙ : ยาสมุนไพร | 3 | ||
ภกวพ๖๙๓ : สารจากสมุนไพรในเครื่องสำอาง | 3 | ||
ภกวพ๖๙๔ : สารเสริมอาหาร | 3 | ||
ภกวพ๖๙๕ : เทคโนโลยีชีวภาพประยุกต์ด้านพืชทางเภสัชศาสตร์ | 3 | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี | |||
ภกภค๖๕๐ : ปฏิกิริยาเคมีในการวิเคราะห์เภสัชภัณฑ์ | 3 | ||
ภกภค๖๕๑ : เสถียรภาพของเภสัชภัณฑ์ | 3 | ||
ภกภฉ๖๕๕ : เคมีของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ | 3 | ||
ภกภฉ๖๖๔ : นิวเคลียร์แมกเนติก เรโซแนนซ์ สเปคโตรสโคปี | 3 | ||
ภกภพ๖๐๑ : การแพทย์แผนไทย | 3 | ||
ภกภว๖๖๔ : สาระสำคัญทางพิษวิทยา | 3 | ||
ภกภว๖๖๖ : เทคนิคการคัดกรองยา ๑ | 3 | ||
ภกวพ๖๗๓ : ปัญหาพิเศษทางพฤกษเภสัชภัณฑ์ | 2 | ||
ภกวพ๖๙๑ : เทคโนโลยีการผลิตพฤกษเภสัชภัณฑ์ | 3 | ||
ภกวพ๖๙๓ : สารจากสมุนไพรในเครื่องสำอาง | 3 | ||
ภกวพ๖๙๔ : สารเสริมอาหาร | 3 | ||
ภกวพ๖๙๕ : เทคโนโลยีชีวภาพประยุกต์ด้านพืชทางเภสัชศาสตร์ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท | |||
ภกวพ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี | |||
ภกวพ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นรรฆวี แสงกลับ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จตุรงค์ ประเทืองเดชกุล
- รองศาสตราจารย์ ณัฏฐินี อนันตโชค
- ศาสตราจารย์ ลีณา สุนทรสุข
- รองศาสตราจารย์ สมภพ ประธานธุรารักษ์
- รองศาสตราจารย์ ชุติมา เพชรกระจ่าง
- รองศาสตราจารย์ วีณา สาธิตปัตติพันธ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวรรณ กิจผาติ
- รองศาสตราจารย์ ปิยนุช โรจน์สง่า
- รองศาสตราจารย์ มนตรี จาตุรันต์ภิญโญ
- รองศาสตราจารย์ นันทนา นุชถาวร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมนึก บุญสุภา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธฤตา กิติศรีปัญญา
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เมธี พุ่มทุ่ม
- รองศาสตราจารย์ สาธิต พุทธิพิพัฒน์ขจร
- ศาสตราจารย์ ณัฐนันท์ สินชัยพานิช
- รองศาสตราจารย์ มัลลิกา (ไตรเดช) ชมนาวัง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นัฏฐ์ภัสสร ชาติสัมปันน์
- รองศาสตราจารย์ ปองทิพย์ สิทธิสาร
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วสุ ศุภรัตนสิทธิ
- รองศาสตราจารย์ ดวงใจ ตั้งมั่นในธรรม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กันตรัตน์ อรุณรุ่งวิเชียร
- อาจารย์ ชุติมา เพ็ชรประยูร
- รองศาสตราจารย์ วารี ลิมป์วิกรานต์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนิกา ปฐมวิชัยวัฒน์
- รองศาสตราจารย์ กชพรรณ ชูลักษณ์
- รองศาสตราจารย์ ณัฐวุฒิ เจริญไทย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภานุพงษ์ พงษ์ชีวิน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญญากาญจน์ พงศ์กิจวิทูร